Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44067
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวีระ เหมืองสิน-
dc.contributor.authorจตุรงค์ ลีลาวัฒนพาณิชย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-07-20T03:09:19Z-
dc.date.available2015-07-20T03:09:19Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44067-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เน้นที่ปัญหาของการขาดเครื่องมือที่สนับสนุนการแสดงข้อมูลทางภูมิศาสตร์ในเชิงเวลาบนแผนที่บนเว็บแอพพลิเคชัน ในขณะที่ข้อมูลเชิงพื้นที่สามารถสร้างได้เป็นพีระมิดข้อมูลและสามารถเลือกแสดงข้อมูลได้โดยใช้ตัวควบคุมการซูมบนแผนที่บนเว็บแอพพลิเคชัน ซึ่งคุณสมบัติด้านเวลาของข้อมูลอาจจะได้รับการสนับสนุนด้วยส่วนควบคุมของเส้นเวลาพื้นฐานโดยไม่มีความสามารถในการคัดเลือกข้อมูลมาแสดงผล ดังนั้นถ้าข้อมูลมีปริมาณมาก ๆ บนช่วงเวลาที่ยาว จะทำให้ไม่สามารถแสดงข้อมูลให้เป็นที่เข้าใจของผู้ใช้งานได้ ซึ่งงานวิจัยนี้ได้เสนอวิธีการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยการประยุกต์ใช้เทคนิคหลายระดับความละเอียดของการแสดงข้อมูลเชิงพื้นที่มาใช้กับการแสดงข้อมูลเชิงเวลา กล่าวคือจะสร้างจะสร้างพีระมิดข้อมูลตามระดับความละเอียดของเวลาแทนระดับความละเอียดและขนาดขยายของพื้นที่และซอฟต์แวร์สำหรับดูแผนที่ที่มีส่วนควบคุมเส้นเวลาที่สามารถเปลี่ยนระดับความละเอียดของเวลาได้ โดยระบบต้นแบบจะพัฒนาเป็นแผนที่บนเว็บแอพพลิเคชันที่มีส่วนควบคุมเส้นเวลาพิเศษที่ใช้ปฏิสัมพันธ์กับฐานข้อมูลที่ประกอบด้วยพีระมิดข้อมูลของข้อมูลเชิงพื้นที่และเวลาen_US
dc.description.abstractalternativeThis work addresses the problem on lack of supported tool for visualizing temporal geographic data on web mapping applications. While spatial data can be structured as a data pyramid and selectively visualized using the zoom control on a web map viewer, temporal property of the data may be supported with a basic timeline control without data selection capability. Therefore, a large amount of dynamic data over a long period of time can clutter the screen. The proposed solution is to apply the multi-resolution technique for visualizing spatial data onto temporal data. That is to create a data pyramid based on the time-scale instead of the altitude-level and map-viewer software with a timeline control interface that is zoom-able to different time-scales. A prototype system is implemented as a web mapping application with a specialized timeline control that interacts with the database containing the spatial-temporal data pyramid.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.413-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectข้อมูลเชิงพื้นที่en_US
dc.subjectฐานข้อมูลทางภูมิศาสตร์en_US
dc.subjectระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์en_US
dc.subjectโปรแกรมประยุกต์บนเว็บen_US
dc.subjectเว็บเซอร์วิสen_US
dc.subjectฐานข้อมูลเชิงเวลาen_US
dc.subjectGeospatial dataen_US
dc.subjectGeodatabasesen_US
dc.subjectGeographic information systemsen_US
dc.subjectWeb applicationsen_US
dc.subjectWeb applicationsen_US
dc.subjectTemporal databasesen_US
dc.subjectInformation visualizationen_US
dc.titleการแสดงข้อมูลทางภูมิศาสตร์เชิงเวลาบนพื้นฐานของพีระมิดข้อมูลแบบหลายระดับความละเอียดและหลายระดับเวลาen_US
dc.title.alternativeVisualization of temporal geographic data based on multi-resolution data pyramids and a multi-level time-scaleen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมคอมพิวเตอร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorVeera.M@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.413-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jaturong_Le.pdf10.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.