Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44876
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปิยพงษ์ สุเมตติกุล-
dc.contributor.authorภัคชุดา พันอินทร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-09-02T04:25:13Z-
dc.date.available2015-09-02T04:25:13Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44876-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์เพื่อเสนอแนวทางการบริหารจัดการคนเก่งของโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนในกรุงเทพมหานคร เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือ โรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนในกรุงเทพมหานครในกรุงเทพมหานครจำนวน 22 โรงเรียน ได้มาโดยใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ เก็บข้อมูลเชิงปริมาณด้วยการสอบถามผู้บริหารและครูจำนวน 212 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดย หาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และแปลผลค่าเฉลี่ยเทียบกับเกณฑ์ ลำดับความสำคัญโดย ใช้สูตร PNI Modified เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์ผู้บริหารและครูจำนวน 15 คน จากโรงเรียนที่ผ่านเกณฑ์ในการพิจารณาเลือกโรงเรียนกลุ่มตัวอย่างที่ผู้วิจัยกำหนดขึ้นจำนวน 4 โรงเรียน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อ และจัดประชุมกลุ่ม (Focus group) ผู้ทรงคุณวุฒิ โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิเข้าร่วมประชุม 6 ท่าน เพื่อให้ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบตลอดจนให้ข้อเสนอแนะและให้ความเห็นพ้องแนวทางที่ได้จากการศึกษา ผลการวิจัยที่สำคัญ สรุปได้ดังนี้ 1. โรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนในกรุงเทพมหานครมีสภาพปัจจุบันการบริหารจัดการคนเก่งในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลางค่าเฉลี่ย 3.10 และมีสภาพที่พึงประสงค์อยู่ในระดับสูงค่าเฉลี่ย 3.93 มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 2. โรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนในกรุงเทพมหานครมีความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการบริหารจัดการคนเก่งเร่งด่วนสามลำดับแรกคือ การจ่ายค่าตอบแทนและการให้รางวัลคนเก่ง รองลงมาคือการประเมินผลการ ปฏิบัติงานคนเก่งและการพัฒนาคนเก่ง 3. แนวทางการบริหารจัดการคนเก่งของโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนในกรุงเทพมหานครที่สำคัญประกอบด้วย คือ แนวทางการระบุคนเก่ง 13 วิธี แนวทางการสรรหาและคัดเลือกคนเก่ง 13 วิธี แนวทางการพัฒนาคนเก่ง 10 วิธี แนวทางการจ่ายค่าตอบแทนและให้รางวัลคนเก่ง 9 วิธี แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงานคนเก่ง 6 วิธี และแนวทางการธำรงรักษาคนเก่ง 9 วิธีen_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study current and ideal guidelines for the management of talent in private vocational schools in Bangkok. This is a mixed method study. The research population consisted of 22 private vocational schools in Metropolitan Bangkok, selected with a purposive sampling method. The research instruments were questionnaires and interviews. Quantitative data were collected using questionnaires from 212 administrators and teachers to study frequency, percentage, average and standard deviation, while means were compared according to criteria. A Priority Needs Index (PNI Modified) was also obtained. Qualitative data were collected from interviews with 15 people from the four best practice schools to which content analysis was applied. A focus group composed of six experts provided suggestions, conclusions and agreement. The research findings were as follows: 1. The current state of management of talent in private vocational schools in Bangkok overall is at a moderate level (mean= 3.10) and the desirable state at a high level (mean= 3.93). The difference is statistically significant at the 0.01 level. 2. A priority needs index indicated the need to develop rewards and recognition, performance appraisal and development of talent in the private vocational schools, respectively. 3. The guidelines for talent management identified 13 processes including, 13 processes related to talent recruitment and selection, 10 processes for development of talent, 9 processes for reward and recognition, 6 processes for performance appraisal and 9 processes for retention of talent in the schoolsen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.25-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอาชีวศึกษา -- ไทย -- กรุงเทพฯen_US
dc.subjectโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน -- ไทย -- กรุงเทพฯen_US
dc.subjectโรงเรียนอาชีวศึกษา -- ไทย -- กรุงเทพฯen_US
dc.subjectทรัพยากรมนุษย์en_US
dc.subjectการพัฒนาบุคลากรen_US
dc.subjectครูen_US
dc.subjectVocational education -- Thailand -- Bangkoken_US
dc.subjectHuman capitalen_US
dc.subjectTeachersen_US
dc.titleแนวทางการบริหารจัดการคนเก่งของโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนในกรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeGuidelines for talent management of private vocational schools in Bangkoken_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineบริหารการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPiyapong.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.25-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
pakchuda_pu.pdf2.92 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.