Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45065
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัชนี ขวัญบุญจัน-
dc.contributor.authorปรารถนา บุญญะสุระ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-09-08T02:32:35Z-
dc.date.available2015-09-08T02:32:35Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45065-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบทดสอบสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กปฐมวัย และสร้างเกณฑ์มาตรฐานของแบบทดสอบสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กปฐมวัย กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชายและนักเรียนหญิงระดับปฐมวัย ในการหาคุณภาพเครื่องมือ ใช้นักเรียนจำนวน 40 คน เป็นนักเรียนชาย 20 คน และนักเรียนหญิง 20 คน ในการสร้างเกณฑ์ปกติ ใช้นักเรียนระดับปฐมวัยจำนวน 400 คน เป็นนักเรียนชาย 200 คน และนักเรียนหญิง 200 คน โดยได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบทดสอบสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กปฐมวัย ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น ประกอบด้วย รายการทดสอบลุก-นั่ง 30 วินาที วิ่งกลับตัว นั่งงอตัวไปข้างหน้า ยืนเขย่งปลายเท้า ยืนกระโดดไกล และวิ่งเร็ว 30 เมตร นำแบบทดสอบไปประเมินค่าความตรง ความเที่ยงและความเป็นปรนัย ผลการวิจัยพบว่า 1) รายการทดสอบลุก-นั่ง 30 วินาที มีค่าความตรง ค่าความเที่ยงและความเป็นปรนัย เท่ากับ .876, .792 และ.983 2) รายการทดสอบวิ่งกลับตัว มีค่าความตรง ค่าความเที่ยงและความเป็นปรนัย เท่ากับ .927, .725 และ.973 3) รายการทดสอบนั่งงอตัวไปข้างหน้า มีค่าความตรง ค่าความเที่ยงและความเป็นปรนัย เท่ากับ .918, .872 และ.995 4) รายการทดสอบยืนเขย่งปลายเท้า มีค่าความตรง ค่าความเที่ยงและความเป็นปรนัย เท่ากับ .893, .925 และ1.00 5) รายการทดสอบยืนกระโดดไกล มีค่าความตรง ค่าความเที่ยงและความเป็นปรนัย เท่ากับ .949, .770 และ.997 6) รายการทดสอบวิ่งเร็ว 30 เมตร มีค่าความตรง ค่าความเที่ยงและความเป็นปรนัย เท่ากับ .888, .761 และ.887 7) รายการทดสอบรวมทุกรายการ มีค่าความตรง ค่าความเที่ยงและความเป็นปรนัย เท่ากับ .908, .808 และ .972 การสร้างเกณฑ์มาตรฐานของแบบทดสอบสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กปฐมวัย โดยการแบ่งระดับความสามารถออกเป็น 5 ระดับ คือ สูงมากใช้ช่วงจาก 2 S.D. ขึ้นไป สูงใช้ช่วง 1 S.D. ถึง 2 S.D. ปานกลางใช้ช่วง -1 S.D. ถึง 1 S.D. ต่ำใช้ช่วง -1 S.D. ถึง -2 S.D. และต่ำมาก ใช้ช่วงจาก -2 S.D. ลงไปen_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to develop a physical fitness test for early childhood children and to establish the related standardized norms. The sample for determining the quality of the test consisted of 40 students (20 boys and 20 girls), whereas those for the norm comprised 400 students (200 boys and 200 girls).All students were selected by simple random sampling. The instrument for collecting data was a physical fitness test for early childhood children developed by the researcher. This test included items for 30 Second Sit-Up, Timed Shuttle Run, Sit and Reach, Standing Broad Jump, Standing Triple Toe, and Run 30 Meters. The validity, reliability, and objectivity of the items were evaluated. The results of the study were as follows: 1) the index of validity, reliability, and objectivity for the 30 Second Sit-Up test were .876,.792,and.983, respectively; 2) the index of validity, reliability, and objectivity for the Timed Shuttle Run test were .927, .725, and .973, respectively; 3) the index of validity, reliability, and objectivity for the Sit and Reach test were.918,.872,and .995, respectively; 4) the index of validity, reliability, and objectivity for the Standing Broad Jump test were.893,.925, and1.00, respectively; 5) the index of validity, reliability, and objectivity for the Standing Triple Toe test were.949, .770,and .997, respectively; 6) the index of validity, reliability, and objectivity of the Run 30 Meter test were.888, .761,and .887, respectively; and 7) the index of validity, reliability, and objectivity of the Total Order tests were .908,.808, and .972, respectively To establish the related standardized norms the ability was divided in to 5 levels the very high use more than 2 S.D., high use from the 1 S.D. to 2 S.D., medium use from the -1 S.D. to 1 S.D., low use from the -1 S.D. to -2 S.D. and very low useless than -2 S.D.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.36-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสมรรถภาพทางกาย -- แบบทดสอบen_US
dc.subjectPhysical fitnessen_US
dc.titleการพัฒนาแบบทดสอบสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กปฐมวัยen_US
dc.title.alternativeThe development of a physical fitness test for early childhood childrenen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสุขศึกษาและพลศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorRajanee.Q@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.36-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
prahttana_bo.pdf3.52 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.