Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/461
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวันชัย บุญรอด-
dc.contributor.authorธานินทร์ บุญญาลงกรณ์, 2524--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-06-22T12:28:21Z-
dc.date.available2006-06-22T12:28:21Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9745321281-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/461-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาเจตคติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ที่มีต่อวิชาพลศึกษา ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เพื่อเปรียบเทียบเจตคติที่มีต่อวิชาพลศึกษาของนักเรียนชายกันนักเรียนหญิง และเพื่อเปรียบเทียบเจตคติที่มีต่อวิชาพลศึกษาของนักเรียนในกรุงเทพมหานครกับนักเรียนในต่างจังหวัด ผู้วิจัยได้ใช้แบบวัดเจตคติที่มีต่อวิชาพลศึกษาเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นปีที่ 1-3 จำนวน 1,400 คน ได้รับแบบวัดเจตคติคืนทั้งสิ้น 1,393 ชุด คิดเป็นร้อยละ 99.5 ผู้วิจัยนำข้อมูลมาวิเคราะห์หาค่าทางสถิติทั้งหมดด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป เอส พี เอส เอส ฟอร์วินโดว์ รุ่น 12.0 (SPSS : Statistical Package for the Social Science for Window Version 12.0) เพื่อหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยทดสอบความมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แล้วนำเสนอข้อมูลในรูปตารางประกอบความเรียง ผลการวิจัยพบว่า 1. เจตคติของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีต่อวิชาพลศึกษาพบว่านักเรียนส่วนมากมีเจตคติต่อวิชาพลศึกษาอยุ่ในเกณฑ์ที่เห็นด้วย 2. เจตคติของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีต่อวิชาพลศึกษาระหว่างนักเรียนชายและนักเรียนหญิงมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. เจตคติของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีต่อวิชาพลศึกษาระหว่างนักเรียนในกรุงเทพมหานครกับนักเรียนในต่างจังหวัดไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study and compare attitude towards physical education subjects of the lower secondary school students. The samples were 1,400 lower secondary school students. Out of 1,400 attitude questionnaires the were be send to the students in Thailand and 1,393 attitude questionnaires, accounted for 99.5 percent were returned. The data were analyzed in term of percentages, means, standard deviation and t-test. The results of the study were as follows : 1. The attitude of the students at lower secondary school were found to be at the good level. 2. The attitude towards physical education subjects between boy and girl students were significantly different at the .05 level. 3. The attitude towards physical education subjects between Bangkok students and Region students were not significantly different at the .05 level.en
dc.format.extent1091075 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2004.137-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectทัศนคติen
dc.subjectพลศึกษา--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en
dc.subjectการศึกษาขั้นพื้นฐานen
dc.titleเจตคติของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีต่อวิชาพลศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544en
dc.title.alternativeThe lower secondary school student's attitude towards physical education subjects based on basic education curriculum B.E. 2544en
dc.typeThesisen
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineพลศึกษาen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorWanchai.B@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2004.137-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TaninB.pdf947.91 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.