Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4621
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สถาพร สุปรีชากร | - |
dc.contributor.author | ปกาศิต เกิดเกลื่อน | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2007-11-07T11:27:38Z | - |
dc.date.available | 2007-11-07T11:27:38Z | - |
dc.date.issued | 2548 | - |
dc.identifier.isbn | 9745318582 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4621 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 | en |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์นี้กล่าวถึงการออกแบบและสร้างมอเตอร์เหนี่ยวนำ เพื่อใช้สำหรับขับเคลื่อนรถจักรยาน ซึ่งผู้วิจัยได้ทำการออกแบบและสร้างมอเตอร์เหนี่ยวนำไว้ 2 แบบ คือ แบบที่ 1 เป็นมอเตอร์ 3 เฟส 18 โพล 50 เฮิร์ท 48 โวลต์ เชื่อมต่อแบบ series-star ส่วนแบบที่ 2 เป็นมอเตอร์ 3 เฟส 8 โพล 50 เฮิร์ท 36 โวลต์ เชื่อมต่อแบบ two parallel-delta จากผลการทดสอบ พบว่า Pull-out torque ของมอเตอร์ทั้ง 2 แบบที่สร้างได้มีค่าเท่ากันคือ 3.5 นิวตัน-เมตร และเมื่อกำหนดแรงบิดพิกัดไว้ที่ 1.27 นิวตัน-เมตร จะทำให้มอเตอร์แบบที่ 1 และ แบบที่ 2 มีกำลังพิกัดเท่ากับ 34.86 วัตต์ และ 87.43 วัตต์ ตามลำดับ ส่วนประสิทธิภาพที่ค่าพิกัดของมอเตอร์แบบที่ 1 และแบบที่ 2 เท่ากับ 33.46% และ 23.36% ตามลำดับ แต่สำหรับวิทยานิพนธ์นี้ได้นำมอเตอร์แบบที่ 2 มาติดตั้งกับรถจักรยาน เนื่องจากมอเตอร์แบบที่ 2 มีโครงสร้างที่แข็งแรงทนทาน มีกำลังพิกัดสูงและมีการระบายความร้อนที่ดีกว่า เมื่อนำมอเตอร์แบบที่ 2 มาติดตั้งกับรถจักรยานโดยได้ทำการทดรอบมอเตอร์ 4:1 ทำให้รถจักรยานสามารถวิ่งด้วยความเร็วประมาณ 13 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ที่น้ำหนักรถโดยรวม 90 กิโลกรัม | en |
dc.description.abstractalternative | This thesis is concerned with the design and construction of an induction motor suitable for driving a bicycle. Two types of motors were designed for comparison. One of which was a three-phase motor 18 pole 50 Hz 48 Volt series-star connection, and the other was a three-phase motor 8 pole 50 Hz 36 Volt two parallel-delta connection. From the test results, both possessed identical pull-out torque of 3.5 N-m. With 1.27 N-m rated torque set in both, outputs of 34.86 W and 87.43 W were achieved with 33.46% and 23.36% efficiency respectively. The type 2 motor was chosen as a bicycle drive because of its more rigid structure, better rated power and cooling but a reduction ratio of 4:1 was needed to propel a 90 kg overall weight bicycle to 13 km/hr on level pavement. | en |
dc.format.extent | 3645572 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1009 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | มอเตอร์เหนี่ยวนำ | en |
dc.title | การออกแบบและสร้างมอเตอร์เหนี่ยวนำสำหรับใช้ขับรถจักรยาน | en |
dc.title.alternative | The design and construction of an induction motor for driving a bicycle | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมเครื่องกล | en |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2005.1009 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
pakasit.pdf | 3.56 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.