Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/462
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิมพันธ์ เดชะคุปต์-
dc.contributor.authorรจเรข รัตนาจารย์, 2522--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-06-22T12:34:31Z-
dc.date.available2006-06-22T12:34:31Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9745320072-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/462-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการรับรู้ความสามารถของตนเอง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถของตนเองกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนกลุ่มที่มีการฝึกการกำกับตนเองในการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ 2) เปรียบเทียบการรับรู้ความสามารถของตนเอง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถของตนเองกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ระหว่างนักเรียนกลุ่มที่มีการฝึกกับนักเรียนกลุ่มที่ไม่มีการฝึกการกำกับตนเองในการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2546 แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ กลุ่มละ 50 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบวัดการรับรู้ความสามารถของตนเองในวิชาวิทยาศาสตร์มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.92 และแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.81 สถิติที่ใช้ในการวิจัยคือ ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ยร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบค่าที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ภายหลังการทดลอง นักเรียนกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนการรับรู้ความสามารถของตนเองในวิชาวิทยาศาสตร์สูงกว่าก่อนทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ภายหลังการทดลอง นักเรียนกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนการรับรู้ความสามารถของตนเองในวิชาวิทยาศาสตร์สูงกว่านักเรียนกลุ่มเปรียบเทียบที่ไม่มีการฝึกการกำกับตนเองในการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ภายหลังการทดลอง นักเรียนกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยร้อยละคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์สูงกว่าก่อนทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่มีค่าเท่ากับร้อยละ 61.28 ซึ่งต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 4. ภายหลังการทดลอง นักเรียนกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์สูงกว่านักเรียนกลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5. ภายหลังการทดลอง คะแนนการรับรู้ความสามารถของตนเองในวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนกลุ่มทดลองมีความสัมพันธ์กับคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .61 ซึ่งสูงกว่าก่อนทดลอง 6. ภายหลังการทดลอง นักเรียนกลุ่มทดลองมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถของตนเองในวิชาวิทยาศาสตร์ของกลุ่มนักเรียนทดลองสูงกว่านักเรียนกลุ่มเปรียบเทียบen
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to 1) study self-efficacy, science learning achievement, and relationship between self-efficacy and science learning achievement of the students practice self-regulation e in science instruction. 2) compare self-efficacy, science learning achievement, and relationship between self-efficacy and science learning achievement between groups practice and not-practice self-regulation in science instruction. The sample were two groups of mathayom suksa three students of academic year 2003. the sample were divided into two groups: an experimental group and a comparative group with 50 students in each group. The research instruments were the self-efficacy test and the science achievement test. The reliability of the tests were 0.92 and 0.81 respectively. The collected data were analyzed by means of arithmetic mean, mean of percentage, standard deviationand t-test. The research findings were summarized as follows: 1. After the experiment, an experimental group had self-efficacy score higher than before the experiment at the .05 level of significance. 2. After the experiment, an experimental group had self-efficacy score higher than a comparative group at the .05 level of significance. 3. After the experiment, an experimental group had the average score of science learning achievement at 61.28% which was higher than before the experiment at the .05 level of significance but still lower than the criterion score at 70%. 4. After the experiment, an experimental group had science learning achievement score higher than a comparative group at the .05 level of significance. 5. After the experiment, the relationship between self-efficacy score and science learning achievement score of an experimental group was statistically significance at .05 level. Teh correlation coefficient was .61 which was higher than before the experiment. 6. After the experiment, an experimental group had the correlation coefficient between self-efficacy and science learning achievement higher than a comparative group.en
dc.format.extent1826662 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2004.746-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en
dc.subjectการรับรู้ตนเองen
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนen
dc.titleผลของการฝึกการกำกับตนเองในการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ที่มีต่อการรับรู้ความสามารถของตนเองและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3en
dc.title.alternativeEffects of self-regulation practice in science instruction on self-efficacy and science learning achivement of mathayom suksa three studentsen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineการศึกษาวิทยาศาสตร์en
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2004.746-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rojjarek.pdf1.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.