Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46766
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรรณา ปูรณโชติ | - |
dc.contributor.author | สุรัตน์ อังกุรวิโรจน์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2015-09-29T09:03:17Z | - |
dc.date.available | 2015-09-29T09:03:17Z | - |
dc.date.issued | 2532 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46766 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อวิเคราะห์หาตัวแปรที่จำแนกระหว่างนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มที่มีผลสัมฤทธิ์ต่ำกว่าระดับความสามารถ และกลุ่มที่มีผลสัมฤทธิ์สูงกว่าระดับความสามารถ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เขตการศึกษา 5 จำนวน 426 คน แบ่งเป็นกลุ่มที่มีผลสัมฤทธิ์ต่ำกว่า และสูงกว่าระดับความสามารถ จำนวน 212 คน และ 214 คน ตามลำดับ ซึ่งวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีวิเคราะห์จำแนก แบบมีขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า ตัวแปรสำคัญที่จำแนกความแตกต่างของกลุ่มนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ต่ำกว่า และสูงกว่าระดับความสามารถได้อย่างมีนัยสำคัญ (∝< .01) และถูกคัดเลือกเข้าในสมการจำแนกมีทั้งหมด 15 ตัวแปร คือ ความรับผิดชอบ อัตมโนทัศน์ด้านพฤติกรรมที่แสดงออก อัตมโนทัศน์ด้านส่วนตัว สถานภาพทางสังคมมิติ นิสัยทางการเรียนด้วยวิธีการทำงาน แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ความสนใจงานกลางแจ้ง ความสนใจงานคำนวณ ความสนใจงานวิทยาศาสตร์ ความสนใจงานศิลปะ ความสนใจงานบริการสังคม ปัญหาส่วนตัวด้านความสัมพันธ์กับเพื่อน สภาพแวดล้อมทางบ้านด้านความสัมพันธ์ในครอบครัว ด้านฐานะเศรษฐกิจ และด้านที่อยู่อาศัย สำหรับตัวแปรที่ปรากฏน้ำหนักในสมการจำแนกมีค่าประมาณครึ่งหนึ่งของค่าน้ำหนักที่สูงที่สุดมี 10 ตัว เรียงลำดับน้ำหนักได้แก่ อัตมโนทัศน์ด้านส่วนตัว แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ นิสัยทางการเรียนด้านวิธีการทำงาน สภาพแวดล้อมทางบ้านด้านที่อยู่อาศัย ด้านความสัมพันธ์ในครอบครัว สถานภาพทางสังคมมิติความรับผิดชอบ ความสนใจงานคำนวณ ความสนใจงานกลางแจ้ง และสภาพแวดล้อมทางบ้านด้านฐานะเศรษฐกิจ ซึ่งตัวแปรความสนใจงานกลางแจ้งเป็นลักษณะของกลุ่มที่มีผลสัมฤทธิ์ต่ำกว่าระดับความสามารถส่วนตัวแปรที่เหลืออีก 9 ตัว เป็นลักษณะเด่นของกลุ่มที่มีผลสัมฤทธิ์สูงกว่าระดับความสามารถ | en_US |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to analyze the variables discriminating between Mathayom Suksa Pive Underachievers and Overachievers. The samples for this study were 426 students in Mathayom Suksa Five Educational Region Five which consisted of 212 underachievers and 214 overachievers. The obtained data were analyzed by stepwise method of Discriminant Analysis. The results of this study indicated that fifteen variables were able to discriminate significantly (∝< .01) between the underachievers and the overachievers and were chosen for the discriminant function. These variables were : Responsibelity, Voert behavior Self-Concept, Personal Self-Concept, Sociometric Status, Habit of Work Method, Achievement Motivation, Outdoor Job-Interest, Computer Job-Interest, Scientific Job-Interest, Artistic Job-Interest, Social Servic Job-Interest, Personal Problem on the Relationship with Peers, Home-Enviroment on the Family Relationship, Family Economic Status, and Home Areas. The ten important high weight variables selected form discriminant function ranked from highest to lowest were Personal Self-Concept, Achievement Motivation, Habit of Work Method, Home-Enviroment on Home Areas, Family Relationship, Sociometric Status, Responsibility, Computer Job-Interest, Outdoor Job-Interest, and Family Economic Status. The Outdoor Job-Interest was the dominant characteristic of Underachievers Group but the other nine variables were the dominant characteristic of Overachievers Groups. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ตัวแปร | en_US |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน | en_US |
dc.subject | ความสูญเปล่าทางการศึกษา | en_US |
dc.subject | ความรับผิดชอบ | en_US |
dc.subject | ความวิตกกังวล | en_US |
dc.subject | แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ | en_US |
dc.subject | นิสัยทางการเรียน | en_US |
dc.subject | ปัญหาส่วนตัว | en_US |
dc.subject | สถานภาพทางเศรษฐกิจสังคม | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์ตัวแปรที่จำแนกระหว่างนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำกว่าและสูงกว่าระดับความสามารถ เขตการศึกษา 5 | en_US |
dc.title.alternative | An analysis of the variables discriminating between mathayom suksa five underachievers and overachievers, educational region five | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิจัยการศึกษา | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Surat_an_front.pdf | 9.19 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Surat_an_ch1.pdf | 2.63 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Surat_an_ch2.pdf | 4.06 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Surat_an_ch3.pdf | 15.01 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Surat_an_ch4.pdf | 11.33 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Surat_an_ch5.pdf | 15.23 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Surat_an_back.pdf | 4.6 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.