Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47192
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฐสุดา เต้พันธ์-
dc.contributor.authorกมลวรรณ อึงรัตนากร-
dc.contributor.authorณิชาภัทร จรัสอาชา-
dc.contributor.authorอภิญญา สิทธิมงคลการ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2016-02-18T03:43:02Z-
dc.date.available2016-02-18T03:43:02Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.otherPsy 139-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47192-
dc.descriptionโครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2554en_US
dc.descriptionA senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic yearen_US
dc.description.abstractการศึกษาเรื่องประสบการณ์ของการตัดสินใจไม่ได้ในการเลือกเส้นทางอาชีพของนักศึกษามหาวิทยาลัยชั้นปีสุดท้ายมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์ของการตัดสินใจไม่ได้ในการเลือกเส้นทางอาชีพของนิสิตชั้นปีสุดท้าย มีผู้ให้ข้อมูลคือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ที่กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีสุดท้ายเป็นผู้ที่ตัดสินใจไม่ได้ว่าหลังจากจบการศึกษาแล้วจะมีเส้นทางอาชีพต่อไปอย่างไร จำนวน 12 คน ผลจากการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่าประสบการณ์ของผู้ที่ตัดสินใจไม่ได้ แบ่งออกเป็น 3 ประเด็น คือ 1). ปัจจัยที่ส่งผลให้ตัดสินใจไม่ได้ คือ ปัญหาหรืออุปสรรคที่ผู้ให้ข้อมูลกำลังเผชิญอยู่ซึ่งเป็นสิ่งที่ขัดขวางทำให้ผู้ให้ข้อมูลไม่สามารถตัดสินใจเลือกเส้นทางอาชีพได้ ประกอบด้วย การไม่ชัดเจนในตัวเอง ความรู้สึกเกรงใจครอบครัว การขาดความมั่นใจในตัวเอง การรับรู้การขาดทักษะ การรับรู้สิ่งที่เรียนและความยากที่เกิดจากหลายทางเลือก 2). ความรู้สึกทางลบที่เกิดขึ้น คือ ความรู้สึกในด้านลบที่เกิดขึ้นของผู้ให้ข้อมูลที่ยังตัดสินใจไม่ได้ในการเลือกเส้นทางอาชีพ ความรู้สึกในด้านลบที่เกิดขึ้น ได้แก่ วิตกกังวล กดดัน เครียดและเคว้งคว้าง 3). ความพยายามในการหาทางออก คือ สิ่งที่ผู้ให้ข้อมูลพยายามคิดหรือลงมือทำเพื่อให้ตนเองออกจากการสภาวะที่ตัดสินใจไม่ได้ ได้แก่ ปรึกษาเพื่อน/ครอบครัว ใคร่ครวญทางเลือก ลงมือทำบางอย่าง วางแผนที่จะทำและค้นหาข้อมูล ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถนำมาใช้เป็นแนวทางในการทำความเข้าใจประสบการณ์ของการตัดสินใจไม่ได้ในการเลือกเส้นทางอาชีพของนักศึกษาชั้นปีสุดท้าย อันจะเป็นประโยชน์กับนักศึกษาและผู้เกี่ยวข้องในการดูแลนักศึกษาต่อไปen_US
dc.description.abstractalternativeThis phenomenological study aimed to examine the experience of indecisiveness for career choice of senior college students. Data were collected via in-depth interview with twelve senior college students. Results showed that the indecisive experience of college students could be categorized into three themes as follow: 1. Factors lead to indecisiveness: indistinctive in own self, considering of family’s feeling and desire, lack of self-confidence, perceiving lack of skills, perceiving lessons they have learned, and difficulties from having various choices. 2. After indecisiveness feelings: anxiety, depressing, stress, and drifting. 3. Attempting to get through the indecisiveness: consulting with friends and family, thinking over choices, having activities, planning, and getting information about career and academic.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherคณะจิตวิทวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการตัดสินใจen_US
dc.subjectการแนะแนวอาชีพen_US
dc.subjectความสนใจทางอาชีพen_US
dc.subjectจิตวิทยาการปรึกษาen_US
dc.subjectDecision makingen_US
dc.subjectVocational guidanceen_US
dc.subjectVocational interestsen_US
dc.subjectCounseling psychologyen_US
dc.titleประสบการณ์ของการตัดสินใจไม่ได้ในการเลือกเส้นทางอาชีพของนักศึกษามหาวิทยาลัยชั้นปีสุดท้ายen_US
dc.title.alternativeExperience of indecisiveness for career choice of senior college studentsen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisornattasuda.t@chula.ac.th-
Appears in Collections:Psy - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kamonwan_eu.pdf805.9 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.