Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47386
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดวงกมล ชาติประเสริฐ-
dc.contributor.authorโสมนัส สุจริตกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-03-30T07:04:45Z-
dc.date.available2016-03-30T07:04:45Z-
dc.date.issued2537-
dc.identifier.isbn9745842907-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47386-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537en_US
dc.description.abstractการศึกษากลยุทธ์การผลิตนิตยสารสำหรับเด็ด มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลยุทธ์การจัดการและขั้นตอนการผลิต ปัญหา การแก้ไขปัญหา ปัจจัยที่มีผลต่อความอยู่รอด แลปัจจัยที่กำหนดเนื้อหานิตยสารสำหรับเด็ก โดยศึกษาจากนิตยสารสำหรับเด็ก 6 ฉบับ ชื่อฉบับ คือ ไดโนสาร ชัยพฤกษ์การ์ตูน เสียงเด็ก บ้านเด็ก เพื่อนใหม่ สวนเด็ก ฉบับระหว่างปี พ.ศ. 2528-2535 จากการศึกษาวิเคราะห์เนื้อหา พบว่า นิตสารสำหรับเด็กมีเนื้อหาคล้ายกันคือ ประกอบด้วย การ์ตูน สารคดี ความรู้เสริมหลักสูตรการศึกษาในโรงเรียน ข่าว นิทาน เรื่องสั้น เรื่องยาวประจำฉบับ คอลัมน์ปกิณกะ เกม และบทสัมภาษณ์ โดยแต่ละชื่อฉบับมีสัดส่วนเนื้อหาแต่ละประเภทต่างกัน และมีจุดขายที่ต่างกันด้วย ไดโนสาร เน้นเนื้อหาอนุรักษ์ธรรมชาติและสารคดี ชัยพฤกษ์การ์ตูน มีการ์ตูนบันเทิงเป็นส่วนใหญ่ เสียงเด็ก เน้นหนักข่าวสารและมีเด็กร่วมงานในกองบรรณาธิการ บ้านเด็ก เน้นสาระบันเทิงในรูปการ์ตูนไทยคุณภาพ เพื่อนใหม่ เน้นสารคดี ความรู้รอบตัว เรื่องสั้น เรื่อยาว ประจำฉบับ สวนเด็ก เน้นการ์ตูนและสาระ จากกการสัมภาษณ์บรรณาธิการและแผงจำหน่ายหนังสือ พบว่า ปัญหาในการดำเนินกิจการประกอบด้วย ทุนไม่พอ ช่องทางการจำหน่ายไม่สะดวก หาโฆษณายาก เวลาการทำงานไม่พอ การแข่งขันกับสื่ออื่น การแข่งขันการ์ตูนต่างประเทศ รวมทั้งรัฐบาลยังสนับสนุนไม่เพียงพอ ปัจจัยที่ช่วยให้นิตยสารสำหรับเด็กอยู่รอดและประสบความสำเร็จได้ คือต้องมีช่องทางการจำหน่ายที่ดี มีทุนเพียงพอ เนื้อหาเหมาะสมกับวัย และความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย มีจุดขายดึงดูดใจ รวมทั้งมีระบบการส่งเสริมการจำหน่ายที่ดี นิตยสารสำหรับเด็กในกลุ่มบริษัทสิ่งพิมพ์ขนาดใหญ่ ที่เป็นเจ้าของนิตสารหลายชื่อฉบับ และอาจมีโรงพิมพ์ รวมทั้งสายส่งของตนเอง จึงมีโอกาสประสบความสำเร็จสูงกว่า นิตยสารขนาดเล็กที่เป็นกิจการแบบเจ้าของคนเดียวen_US
dc.description.abstractalternativeThis study aimed at the production strategy of children’s magazine namely, Dainosan Chaiyapruk Cartoon Siang Dek Ban Dek Puan Mai and Suan Dek produced between 1985-1922 period. The research used the method of content analysis and interview with the editors of those magazines as well as interview with newsstand owners around Bangkok. The results of the study showed that children’s magazine’s content usually consist of 8 categories: cartoon, documentary, reading stories, news, games, knowledge, advertisement and variety columns. Each magazine mentioned had its own unique selling points. Dainosan concerned mostly with environmental issues and documentaries Chaiyapruk Cartoon emphasized on entertaining cartoon Siang Dek provided news and some of the editorial staff are childrens, Ban dek concentrated on quality cartoon Puan Mai put much interest on documentary and reading story Suan Dek mainly presented cartoon knowledge and games. Editors and publishers have had a great deal of obstacles in producing Children’s Magazine. Such obstacles are financial problems, difficulties in selling advertisement space, distribution problems, local and foreign competition and not enough support from the government. The survival and the success of Children’s magazine depends on many important factors such as its appropriate budget, the effectiveness of its sales and marketing management and its timely and appropriate response to customer’s need. Appealing style, attractive content and strong promotion are also important.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectวารสารสำหรับเด็กen_US
dc.subjectเด็ก -- หนังสือและการอ่านen_US
dc.subjectวรรณกรรมสำหรับเด็กen_US
dc.subjectChildren's periodicals-
dc.subjectChildren -- Books and reading-
dc.subjectChildren's literature-
dc.titleการศึกษากลยุทธ์การผลิตนิตยสารสำหรับเด็ก (พ.ศ. 2528-2535)en_US
dc.title.alternativeStudy of children's magazine production strategy (1985-1992)en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการหนังสือพิมพ์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorDuangkamol.C@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Somanas_su_front.pdf4.73 MBAdobe PDFView/Open
Somanas_su_ch1.pdf3.99 MBAdobe PDFView/Open
Somanas_su_ch2.pdf12.03 MBAdobe PDFView/Open
Somanas_su_ch3.pdf7.91 MBAdobe PDFView/Open
Somanas_su_ch4.pdf5.24 MBAdobe PDFView/Open
Somanas_su_ch5.pdf4.38 MBAdobe PDFView/Open
Somanas_su_back.pdf9.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.