Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47792
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุจริต เพียรชอบ-
dc.contributor.authorสุวรรณี ยหะกร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-03T02:31:14Z-
dc.date.available2016-06-03T02:31:14Z-
dc.date.issued2530-
dc.identifier.isbn9745674613-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47792-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่สอนโดยใช้การแสดงละครและสอนโดยการอภิปราย วิธีดำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างประชากรของการวิจัยนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ของโรงเรียนปากเกร็ด ปีการศึกษา 2529 จำนวน 2 ห้องเรียน ห้องเรียนละ 40 คน สำหรับกลุ่มตัวอย่างประชากรทั้ง 2 กลุ่มนี้ กลุ่มหนึ่งสอนโดยใช้การแสดงละคร กลุ่มที่สองสอนโดยการอภิปรายเวลาที่ใช้ในการทดลองกลุ่มละ 4 สัปดาห์ 16 คาบ เมื่อเสร็จสิ้นการทดลองแล้วผู้วิจัยได้ ทดสอบผลการเรียนของนักเรียนด้วยแบบทดสอบที่มีความเชื่อมั่น 0.90 จากนั้นผู้วิจัยนำข้อมูลมาวิเคราะห์โดยการหาค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัย ผลการวิจัยปรากฏว่าผลสัมฤทธิ์ในการเรียนวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่สอนโดยใช้การแสดงละครและสอนโดยการอภิปราย แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ กลุ่มที่สอนโดยใช้การแสดงละครได้คะแนนสูงกว่ากลุ่มที่สอนโดยการอภิปรายen_US
dc.description.abstractalternativePurpose The purpose of this research was to compare the Thai language learning achievement of mathayom suksa two students taught by using dramatization and by discussion Procedures Subjects were two groups of mathayom suksa two students of Pakkred School in the academic year 1986. Each group consisted of 40 students. The first group was taught by dramatization, the second one was taught by discussion. Both groups were taught by the researcher for 4 weeks, 16 periods per group. An achievement test, with the reliability of 0.90 was administered after the instruction. The test results were then analysed by means of arithmetic mean, standard deviation and t-test. Result The result showed that Thai language learning achievement of mathayom suksa two students between the group taught by using dramatization and the group taught by discussion was different at the 0.05 level of significance which retained the hypothesis. The group taught by using dramatization had higher scores than the group taught by discussion.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectภาษาไทย -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en_US
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนen_US
dc.subjectการสอนen_US
dc.subjectละครเพื่อการศึกษา -- ไทยen_US
dc.subjectอภิปรายen_US
dc.titleการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาภาษาไทยของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่สอนโดยใช้การแสดงละคร และสอนโดยการอภิปรายen_US
dc.title.alternativeA comparison of the Thai language learning achievement of mathayom suksa two students taught by using dramatization and by discussionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineมัธยมศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suwannee_ya_front.pdf13.56 MBAdobe PDFView/Open
Suwannee_ya_ch1.pdf13.9 MBAdobe PDFView/Open
Suwannee_ya_ch2.pdf44.42 MBAdobe PDFView/Open
Suwannee_ya_ch3.pdf8.97 MBAdobe PDFView/Open
Suwannee_ya_ch4.pdf2.55 MBAdobe PDFView/Open
Suwannee_ya_ch5.pdf5.74 MBAdobe PDFView/Open
Suwannee_ya_back.pdf232.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.