Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48408
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพฑูรย์ วิบูลชุติกุล-
dc.contributor.advisorสุรัช พงษ์พิพัฒน์พานิช-
dc.contributor.authorสมศรี ฉัตรสกุลวิไล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-08T23:58:47Z-
dc.date.available2016-06-08T23:58:47Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746335278-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48408-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคำนวณระดับการคุ้มครองอุตสาหกรรม และต้นทุนการทรัพยากรในประเทศของโครงการ NPC 1 การคุ้มครองแยกพิจารณาเป็นอัตราการคุ้มครองตามราคา (Nominal Rate of Protection : NRP) และอัตราการคุ้มครองที่แท้จริง (Effective Rate of Protection : ERP) โดยใช้ข้อมูลปี 2536 สำหรับอัตราการคุ้มครองตามราคาพบว่า Potential NRP ของผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีขั้นต้นและขั้นปลายเท่ากับร้อยละ 20 และ 40 ตามลำดับ Realized NRP ของ ethylene propylene HDPE LDPE LDPE PVC และPP มีค่าเท่ากับร้อยละ 44.78 44.70 61.66 61.13 111.58 และ 57.24 ตามลำดับ ส่วนการคำนวณอัตราการคุ้มครองที่แท้จริงนั้นพบว่า Potential ERP ของ ethylene propylene HDPE LDPE LDPE PVC และPP มีค่าเท่ากับร้อยละ 109.58 166.51 80.57 73.145 62.05 และ 69.71 ตามลำดับ Realized ERP ของ ethylene propylene HDPE LDPE PVC และ PP มีค่าเท่ากับร้อยละ 570.46 255.04 98.63 88.92 271.99 และ 75.17 ตามลำดับ ซึ่งแสดงว่ามาตรการที่มิใช่ภาษีศุลกากรนำเข้าของรัฐมีผลทำให้อัตราการคุ้มครองมีค่าเพิ่มสูงขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับกรณีที่พิจารณาเฉพาะมาตรการทางภาษีศุลกากรแต่เพียงอย่างเดียว สำหรับผลการศึกษาต้นทุนการใช้ทรัพยากรในประเทศปี 2536 พบว่า ทั้งอุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นต้นและขั้นปลายมีค่า DRC มากกว่า SER ทั้งสิ้น โดย ethylene และ propylene มีค่า DRC เท่ากับ 51.29 และ 79.02 บาทต่อดอลล่าร์สหรัฐตามลำดับ ซึ่งสูงกว่าค่า DRC ของอุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นปลาย คือ HDPE LDPE PVC และ PP ที่มีค่า DRC เท่ากับ 42.10 28.91 35.58 และ 33.24 บาทต่อดอลล่าสหรัฐตามลำดับ จากการศึกษาอัตราการคุ้มครองที่แท้จริงและต้นทุนการใช้ทรัพยากรในประเทศข้างต้นชี้ให้เห็นว่า โครงการ NPC1 ได้รับการปกป้องจากภาครัฐด้วยมาตรการต่าง ๆ มากมาย ซึ่งมีผลทำให้การผลิตในประเทศได้รับอัตราการคุ้มครองที่แท้จริงที่สูงมาก และการคุ้มครองดังกล่าวยังส่งผลให้อุตสาหกรรมนี้มีต้นทุนการใช้ทรัพยากรในประเทศในการผลิตผลิตภัณฑ์ทดแทนการนำเข้าสูงกว่าเงินตราต่างประเทศที่ประหยัดได้เสียอีก ดังนั้นจึงสามารถสรุปได้ว่าโครงการ NPC1 ไม่มีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบในการผลิตen_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study is to calculate effective protection and domestic resource cost of the First National Petrochemical Complex (NPC1). Potential and realized nominal rates of protection (NRP) and effective rate of protection (ERP) were calculated for 1993. The results show that potential NRP rates were about 20% and 40% for upstream industries and downstream industries respectively. The calculated realized NRP rate was 44.78% for ethylene, 44.70% for propylene, 61.66% for HDPE, 61.13% for LDPE, 111.58% for PVC and 57.27% for PP. As for ERP, the potential ERPs were found to be 109.58% for ethylene; 166.51% for propylene; 80.57% for HDPE; 73.45% for LDPE; 62.05% for PVC and 69.71% for PP. The realized ERPs were 570.46% for ethylene, 255.04% for propylene, 98.63% for HDPE, 88.92% for LDPE, 271.99% for PVC and 75.71% for PP. Comparison between potential and realized ERP indicates that protection increased if we included both tariff and non-tariff barriers. The study of domestic resource cost (DRC) shows that DRC for 1993 had a higher magnitude than the SER in both the upstream industries and downstream industries. The DRC values of upstream industries (51.29 ß/$ for ethylene and 79.02 ß/$ for propylene) were higher than downstream industries (42.10 ß/$ for HDPE, 28.91 ß/$ for LDPE, 35.58 ß/$ for PVC and 33.24 ß/$ for PP). The overall results indicate that NPC1 was highly protected by various government measures, resulting in large effective protection for domestic production. Furthermore, the high ERP and the subsequently high DRC for NPC1 mean that more resources were used up by the project than the foreign exchange that it saved. It can therefore be concluded that NPC1 did not have a comparative advantage if it were traded on the world market.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ (การค้าระหว่างประเทศ)en_US
dc.subjectอุตสาหกรรมปิโตรเคมี -- ไทยen_US
dc.subjectนโยบายอุตสาหกรรม -- ไทยen_US
dc.titleการวิเคราะห์ความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบในการผลิต ของโครงการปิโตรเคมีแห่งชาติ โครงการที่ 1en_US
dc.title.alternativeAn analysis of comparative advantage in the first national petrochemical complexen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPaitoon.W@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Somsri_chat_front.pdf6.3 MBAdobe PDFView/Open
Somsri_chat_ch1.pdf14.05 MBAdobe PDFView/Open
Somsri_chat_ch2.pdf19.06 MBAdobe PDFView/Open
Somsri_chat_ch3.pdf17.42 MBAdobe PDFView/Open
Somsri_chat_ch4.pdf15.5 MBAdobe PDFView/Open
Somsri_chat_ch5.pdf5.24 MBAdobe PDFView/Open
Somsri_chat_back.pdf12.82 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.