Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48511
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เนตรนภิศ นาควัชระ | - |
dc.contributor.author | รัชนี ถิรจิตโต | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2016-06-09T07:34:37Z | - |
dc.date.available | 2016-06-09T07:34:37Z | - |
dc.date.issued | 2534 | - |
dc.identifier.isbn | 9745789542 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48511 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อวิเคราะห์ถึงรูปแบบการเดินทางประจำวันของผู้ใช้แรงงานในโรงงานอุตสาหกรรมในเขตสุขาภิบาลพระประแดง 5 ประเภท ได้แก่ การเดินทางไปทำงาน การเดินทางซื้ออาหาร การเดินทางซื้อสินค้าประจำวัน การเดินทางซื้อสินค้าพิเศษ และการเดินทางไปพักผ่อน เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของระยะทางที่ใช้ในการเดินทางแต่ละประเภทและวิเคราะห์ถึงความสัมพันธ์ระหว่างระยะทางการเดินทางกับองค์ประกอบทางด้านประชากร เศรษฐกิจ และสังคม ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพการสมรส ระดับการศึกษา ระดับรายได้ และสถานภาพการเป็นเจ้าของที่อยู่อาศัย ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการเดินทางประจำวันของผู้ใช้แรงงานฯ ส่วนใหญ่จะมีระยะทางการเดินทางไปทำงาน ซื้ออาหาร และซื้อสินค้าประจำวันในระยะทางใกล้ คือ ต่ำกว่า 1 กม. การเดินทางซื้อสินค้าพิเศษมีระยะทางปานกลาง คือ ระหว่าง 1 – 5 กม.และการเดินทางพักผ่อนจะมีระยะทางไกลระหว่าง 1 – 25 กม. แต่การเดินทางไปพักผ่อนต่างจังหวัด จะมีระยะทางเดินทางระยะไกล100 กม.ขึ้นไปวิธีการเดินทางส่วนใหญ่เดินทางด้วยรถโดยสารประจำทาง ส่วนการเดินทางระยะใกล้จะใช้วิธีเดินเท้า จึงไม่เสียค่าพาหนะ ผลการศึกษาพบว่า จำนวนผู้ใช้แรงงานฯจะลดลงเมื่อระยะทางเพิ่มขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับแนวความคิดเรื่องการลดลงตามระยะทาง การเดินทางแต่ละประเภทมีระยะทางที่แตกต่างกัน โดยระยะทางการเดินทางซื้ออาหารจะสั้นที่สุด คือ มีระยะทางเฉลี่ย 1 กม.ซึ่งตามสมมติฐานการวิจัยคาดว่าระยะทางการเดินทางไปทำงานจะสั้นที่สุดนั้น กลับมีระยะทางอยู่ในระดับปานกลาง คือ ระยะทางเฉลี่ย 5 กม.และผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางด้านประชากรเศรษฐกิจและสังคม กับระยะทางการเดินทางพบว่าไม่ปรากฎความสัมพันธ์ระหว่างสถานภาพทางประชากร เศรษฐกิจและสังคมกับระยะทางการเดินทางประจำวันทุกประเภท จึงไม่เป็นไปตามสมมติฐานที่คาดหมายไว้ว่า ระดับรายได้จะมีความสัมพันธ์กับระยะทางการเดินทางมากที่สุด | en_US |
dc.description.abstractalternative | This research is aimed to analyze five daily journey patterns of manufacturing labor in Phra Pradaeng Sanitary District including : the journey to work, to buy food, to buy daily goods, to by special goods and the journey for recreation, in order to compare the differences among the distance covered in each journey pattern, and to analyze the relationship between the travel distance and population, composition in terms of sex, age, marital status and socio-economic composition as education background, income level, and residence ownership status. According to the research, it is found that most of the daily journey patterns used by manufacturing labor in the journeys to work, to by food and to buy daily goods cover a short distance, that is , less than one kilometer. The journey to buy special goods covers a medium range distance, that is , between 1 and 5 kilometers. The journey for recreation comers a long distance, that is between 1 and 25 kilometers. However, the journey for recreation to the countryside covers more than 100 kilometers. Most long-distant journeys are done by bus, but short-distant journeys are done on foot; hence, there is no transportation cost. It is also found that, in accordance with Theory of Distance-Decay, the number of labor will decrease as the distance increase. Each pattern of the journey covers different distances. The distance of the journey to buy food is the shortest, that is, one kilometer on the average. However, the journey to work which is expected, according to the research hypothesis, to be the shortest distance is actually of the medium range, that is, 5 kilometers on the average. Furthermore, according to the analysis of the relationship between the journey distance of population composition in terms of sex, age, marital status and socio-economic composition as educational background, income level as well as residence ownership status, it is found that there is no significant relationship between the journey distance and any population and socio-economic composition as mentioned above. Hence, the level of income is actually not related most to the journey of distance as expected, according to the research hypothesis. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.title | รูปแบบการเดินทางประจำวันของผู้ใช้แรงงานในโรงงานอุตสาหกรรม ในเขตสุขาภิบาลพระประแดง | en_US |
dc.title.alternative | Daily journey patterns of manufacturing labor in Phra Pradaeng sanitary district | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | อักษรศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | ภูมิศาสตร์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Ratchanee_ti_front.pdf | 1.57 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ratchanee_ti_ch1.pdf | 718.7 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Ratchanee_ti_ch2.pdf | 2.15 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ratchanee_ti_ch3.pdf | 1.54 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ratchanee_ti_ch4.pdf | 771.6 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Ratchanee_ti_ch5.pdf | 6.98 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ratchanee_ti_ch6.pdf | 609.65 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Ratchanee_ti_back.pdf | 5.69 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.