Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49030
Title: ศึกษาการจับของสารกลุ่มเพอรีลีน ไดอิไมด์กับจีควอดรูเพล็กซ์ในบริเวณโปรโมเตอร์ของยีนส์เอสอาร์เอฟ
Other Titles: Binding study of perylene diimide on G-quadruplex motif in the SRF promoter region
Authors: ปิยะณัฐ สวัสดี
เปรมสุดา โคผดุง
Advisors: บดินทร์ ติวสุวรรณ|
มิตร ปทีปวณิช
วรสิทธิ์ วงศ์สุทธิเลิศ
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์
Subjects: โปรโมเตอร์
ยีนส์
Issue Date: 2555
Publisher: คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: เอสอาร์เอฟ (SRF) เป็นหนึ่งในสมาชิกของ MADS box family ทา หน้าที่เป็นทรานสคริปชั่นแฟคเตอร์ โดยจับกับ serum response element (SRE) บนยีนหลายชนิด เช่น c-fos, fosB และ junB ซึ่งเป็น proto-oncogene โดยเอสอาร์เอฟ มีหน้าที่สาคัญในการควบคุมการเจริญเติบโตและเปลี่ยนแปลงเซลล์ จากการศึกษาวิจัยก่อนหน้าพบว่าโปรโมเตอร์ของ ยีนเอสอาร์เอฟมีลา ดับเบสกวานีนซ้า กันหลายตา แหน่ง (5’-GGGAAAGGGAAGGGAAGTTGGGGGTAGGGG-3’) สามารถเกิดโครงสร้างจีควอดรูเพล็กซ์ได้ ในงานวิจัยนี้ได้ทา การศึกษาผลของ PIPER ซึ่งเป็นสารกลุ่ม perylene diimides ต่อการเกิดโครงสร้างจีควอดรูเพล็กซ์ โดยใช้เทคนิค circular dichroism (CD) และ ultraviolet-visible spectroscopy จาก ผลการศึกษาพบว่า PIPER สามารถเหนี่ยวนาให้เกิดโครงสร้างจีควอดรูเพล็กซ์แบบ parallel ได้ แต่ในสภาวะที่มี โพแทสเซียมหรือโซเดียมไอออน PIPER จะเหนี่ยวนาให้เกิดรูปแบบของจีควอดรูเพล็กซ์แบบ parallel และ mixed parallel/antiparallel ตามลา ดับ เมื่อทา การศึกษาหาค่า melting temperature (Tm) พบว่า PIPER ช่วยให้ จีควอดรูเพล็กซ์มีความตัวทางอุณหพลศาสตร์เพิ่มขึ้น (Tm > 75 °C) นอกจากนี้ผลการทดลองด้วยวิธี UV absorption titration พบสเปกตรัมของ PIPER ที่ได้หลังการไทเทรตเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจน ซึ่งเป็น หลักฐานสนับสนุนการเกิดอันตรกิริยาระหว่าง PIPER และจีควอดรูเพล็กซ์ จากผลการวิจัยสรุปได้ว่า PIPER เป็น ลิแกนด์หนึ่งที่สามารถจับและเหนี่ยวนา ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างจีควอดรูเพล็กซ์ได้ พร้อมทั้งช่วยให้เกิด ความคงตัวทางอุณหพลศาสตร์มากขึ้นด้วย
Other Abstract: Serum Response Factor (SRF) is a member of the MADS box family of transcription factor that is a key regulator of several proto-oncogenes such as c-fos, fos-B and junB. SRF is believed to be involved in cell growth and differentiation. As in previous report, guanine-rich sequences (5’-GGGAAAGGGAAGGGAAGTTGGGGG TAGGGG-3’) within the promoter region of SRF gene is capable of forming four-stranded structures called G-quadruplex. In this study, we investigate the effects of PIPER (perylene diimide) to G-quadruplex forming by circular dichroism (CD) and ultraviolet-spectrocsopy. PIPER without monovalent cation can induce SRF promoter sequence to form G-quadruplex motif. Furthermore, SRF promoter can form parallel and mixed parallel/antiparallel in the present of K+ and Na+, respectively. According to melting temperature (Tm) study, indicates that PIPER has the ability to stabilize G-quadruplex by largely increase Tm value (Tm>75oC). In addition, to confirm interaction between PIPER and G-quadruplex, we have seen clearly changed spectrum by using UV absorption titration.
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49030
Type: Senior Project
Appears in Collections:Pharm - Senior projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Piyanut_Sa.pdf1.56 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.