Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49998
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อิทธิ ตริสิริสัตยวงศ์ | en_US |
dc.contributor.author | ปวัน ภิรมย์ทอง | en_US |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-11-30T05:41:00Z | - |
dc.date.available | 2016-11-30T05:41:00Z | - |
dc.date.issued | 2558 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49998 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ใช้เทคนิคอนุกรมเวลาอินซาร์ตรวจวัดอัตราการทรุดตัวของกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในช่วงปี ค.ศ. 1996-2000 โดยใช้ข้อมูลเฟสจากภาพดาวเทียมเรดาร์ ERS1 และ ERS2 ทั้งหมด 18 ภาพ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 10,000 ตร.กม. ได้จำนวนจุดภาพที่สามารถใช้เป็นจุดตรวจสอบกว่า 280,000 จุด เมื่อทดสอบทางสถิติด้วย t-test ระหว่างอัตราการทรุดตัวจากอินซาร์กับอัตราการทรุดตัวของหมุดระดับในโครงข่ายระดับตรวจสอบการทรุดตัวจำนวน 20 หมุด พบว่าหมุดระดับ 15 หมุดให้ค่าการทรุดตัวที่สอดคล้องกับอินซาร์ในขณะที่ 5 หมุดที่ไม่สอดคล้องกัน มี 2 หมุดที่อัตราจากงานระดับเร็วกว่าซึ่งน่าจะมาจากสาเหตุของ Phase unwrapping error ของอินซาร์ ส่วนอีก 3 หมุดที่เหลือที่งานระดับตรวจวัดอัตราการทรุดตัวได้ช้ากว่า น่าจะมาจากสาเหตุของ double-bounce ของคลื่นไมโครเวฟ เมื่อนำอัตราการทรุดตัวจากงานวิจัยนี้ผนวกกับอัตราการทรุดตัวที่เป็นผลจากงานวิจัยก่อนหน้าสองชิ้นในช่วงปี ค.ศ. 2005-2010 และปี ค.ศ. 2009-2012 พบค่าการทรุดตัวสะสมในช่วงปี 1996-2012 ที่ค่อนข้างมากในระดับ 40-45 เซ็นติเมตรที่บริเวณ 1) แขวงสามไหม เขตสามไหม 2) แขวงสีกัน เขตดอนเมือง และ 3) อำเภอเมือง สมุทรปราการ สำหรับแนวโน้มของอัตราการทรุดตัวพบว่าพื้นที่กรุงเทพมหานครส่วนใหญ่มีอัตราการทรุดตัวที่ช้าลง โดยพื้นที่เขตดอนเมืองและสามไหมที่มีแนวโน้มช้าลงอย่างมาก ในขณะที่เขตยานนาวา, บางรักและสาธร มีอัตราการทรุดตัวที่เกือบคงที่ แต่ในทางตรงข้าม พบว่าบริเวณตำบลบางแก้ว อ.บางพลี และตำบลปากน้ำ อำเภอเมืองสมุทรปราการ ที่พบแนวโน้มการทรุดตัวที่เร็วขึ้นอย่างมาก เมื่อผนวกกับสภาพภูมิประเทศของจังหวัดสมุทรปราการที่เป็นพื้นที่ราบต่ำติดทะเล ทำให้ทั้งสองบริเวณนี้เป็นบริเวณที่มีความเสี่ยงจากน้ำทำเลท่วมในอนาคตและความมีการติดตามการทรุดตัวอย่างต่อเนื่องต่อไป | en_US |
dc.description.abstractalternative | This research applied InSAR time-series analysis for detecting land subsidence rates in Bangkok and its neighborhood areas in 1996-2000 by using phase data from 18 ERS1 and ERS2 images. We found over 280,000 observations in an area of approximately 10,000 km2. The result was analyzed using t-test with land subsidence rates from 20 leveling benchmarks. This analysis revealed 15 benchmarks agree with the result from InSAR. While in 5 benchmark that not agree, there are 2 benchmarks that value from InSAR slower than leveling, it could be error from phase unwrapping. And there are 3 benchmarks that value from InSAR faster than leveling, it could be explained by Double-bounce of microwave. When combining the result with previous InSAR time-series research during 2005-2010 and 2009-2012, the result shows that 1.) Saimai, Saimai 2.) Seekan, Donmueng 3.) Mueng Samut Prakarn districts have high total subsidence value around 35-40 centimeters in 1996-2012. When considering the trend of subsidence, Bangkok area tends to subside decreasingly especially in Saimai and Donmueng areas. While Yannawa, Bangrak and Sathorn districts subside almost constantly. On the other hand, in Bangkaew, Bangphli and Paknam, MuengSamuthprakarn districts which subside rapidly could be flood risk areas in the future since the topography of Samut prakarn area is a flood plain so there is a need to be monitored closely. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2015.1394 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | แผ่นดินทรุด -- ไทย -- กรุงเทพฯ | |
dc.subject | การวิเคราะห์อนุกรมเวลา | |
dc.subject | Subsidences (Earth movements) -- Thailand -- Bangkok | |
dc.subject | Time-series analysis | |
dc.title | การตรวจหาอัตราการทรุดตัวของแผ่นดินในช่วงปี ค.ศ. 1996-2000 และแนวโน้มการทรุดตัวบริเวณกรุงเทพมหานครและปริมณฑลด้วยเทคนิคอนุกรมเวลาอินซาร์ | en_US |
dc.title.alternative | Detection of 1996-2000 rates and trend of land subsidence in Greater Bangkok by InSAR time-series analysis | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมสำรวจ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Itthi.T@Chula.ac.th,itthi.t@eng.chula.ac.th | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2015.1394 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5670482221.pdf | 7.5 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.