Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50546
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอลิสา วัชรสินธุen_US
dc.contributor.authorเทิมสัทธา เข็มจินดาen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-12-01T08:09:35Z
dc.date.available2016-12-01T08:09:35Z
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50546
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้ เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเองของเด็กสมาธิสั้น ที่มารับการตรวจรักษาที่แผนกผู้ป่วยนอก หน่วยจิตเวชเด็กและวัยรุ่น โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 103 คน ระหว่างเดือนตุลาคม 2558 ถึง เดือนมกราคม 2559 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป และแบบวัดความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาได้แก่ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่ามัธยฐาน ค่าพิสัยควอไทล์ สถิติเชิงอนุมานได้แก่ Independent samples t – test, One – way ANOVA และการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงเส้นพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมากกว่าครึ่ง มีความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเองปานกลางค่อนไปทางสูง (ค่าเฉลี่ย = 53.98, ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 13.30) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเอง ได้แก่ การถูกทำโทษโดยผู้ปกครอง และคุณครู และการได้รับการรักษาด้วยยา ผลเสียของการทำโทษที่มีผลต่อความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเอง เป็นประเด็นสำคัญที่ควรเน้นในการให้ความรู้แก่ บิดา มารดา ผู้ปกครอง คุณครู และประชาชนทั่วไป ความสัมพันธ์ระหว่างการได้รับการรักษาด้วยยาและความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเองของเด็กสมาธิสั้น จำเป็นต้องมีการศึกษาต่อไปen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to study self-esteem and related factors among children with Attention Deficit Hyperactivity Disorder attending child psychiatric unit of King Chulalongkorn Memorial Hospital. Data were collected from one hundred and three Attention Deficit Hyperactivity Disorder children and their parents between October 2015 and January 2016. The measurement were questionnaires asking demographic data and related factors and Self-esteem assessment. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, median, interquartile range, Independent samples t-test, One – way ANOVA and stepwise multiple linear regression analysis. The result of this study revealed that more than half of participants have moderate to high level of self–esteem (mean = 53.98, S.D. = 13.30). The related factors that have negative effect on self – esteem are punishment by teachers and parents and treatment with medication. The negative effect of punishment on self – esteem needs to be emphasized in the programmes educating parents, teachers and public. The relationship between treatment with medication and self – esteem needs further studies.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.702-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเด็กสมาธิสั้น
dc.subjectความนับถือตนเอง
dc.subjectความภาคภูมิใจในตนเองในเด็ก
dc.subjectAttention-deficit-disordered children
dc.subjectSelf-esteem
dc.titleความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเองและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของเด็กสมาธิสั้น ที่มารับการตรวจรักษาที่แผนกผู้ป่วยนอก หน่วยจิตเวชเด็กและวัยรุ่น โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์en_US
dc.title.alternativeSelf-esteem and related factors of children with Attention Deficit Hyperactivity Disorder attending child psychiatric unit of King Chulalongkorn Memorial Hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสุขภาพจิตen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorAlisa.W@Chula.ac.th,alisa_wacharasindhu@hotmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.702-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5774121530.pdf3.21 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.