Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50918
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศันสนีย์ เณรเทียนen_US
dc.contributor.authorจุติภรณ์ เอียบสร้างกี้en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-12-02T02:06:29Z-
dc.date.available2016-12-02T02:06:29Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50918-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาและการคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ก่อนและหลังได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามรูปแบบวงล้อการคิดอย่างกระตือรือร้นในบริบทเชิงสังคมและปัญหาปลายเปิด และ 2) เปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาและการคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามรูปแบบวงล้อการคิดอย่างกระตือรือร้นในบริบทเชิงสังคมและปัญหาปลายเปิดกับนักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนเศรษฐบุตรบำเพ็ญ เป็นนักเรียนกลุ่มทดลองจำนวน 48 ห้องเรียน และนักเรียนกลุ่มควบคุมจำนวน 50 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามรูปแบบวงล้อการคิดอย่างกระตือรือร้นในบริบทเชิงสังคมและปัญหาปลายเปิดมีความสามารถในการแก้ปัญหาและการคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 2) นักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามรูปแบบวงล้อการคิดอย่างกระตือรือร้นในบริบทเชิงสังคมและปัญหาปลายเปิดมีความสามารถในการแก้ปัญหาและการคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์สูงกว่านักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were: 1) to compare the mathematical problem solving and creative thinking abilities of eight grade students before and after being taught by using thinking actively in a social context wheel model and open–ended problem and 2) to compare the mathematical problem solving and creative thinking abilities of eight grade students between the group being taught by using thinking actively in a social context wheel model and open–ended problem and group being taught by using a conventional approach. The subjects were eight grade students in the second semester of the 2015 academic year at Setthabutbamphen school. The results of the study revealed that 1) the mathematical problem solving and creative thinking abilities of eight grade students after being taught by using thinking actively in a social context wheel model and open–ended problem were statistically higher than those of the students before learning at the .05 level of significance and 2) the mathematical problem solving and creative thinking abilities of eight grade students being taught by using thinking actively in a social context wheel model and open-ended problem were higher than those of the students being taught by using a conventional approach at the .05 level of significance.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามรูปแบบวงล้อการคิดอย่างกระตือรือร้นในบริบทเชิงสังคมและปัญหาปลายเปิดที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาและการคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2en_US
dc.title.alternativeEFFECTS OF ORGANIZING MATHEMATICS LEARNING ACTIVITY USING THINKING ACTIVELY IN A SOCIAL CONTEXT WHEEL MODEL AND OPEN - ENDED PROBLEM ON MATHEMATICAL PROBLEM SOLVING AND CREATIVE THINKING ABILITIES OF EIGHTH GRADE STUDENTSen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการศึกษาคณิตศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSansanee.N@Chula.ac.th,sunsanee_aoo@hotmail.comen_US
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5683318227.pdf5.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.