Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51516
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธารพงษ์ วิทิตศานต์
dc.contributor.authorศิลป์ดารา ทัศนปริชญานนท์
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2017-01-23T03:51:08Z
dc.date.available2017-01-23T03:51:08Z
dc.date.issued2549
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51516
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาการแตกตัวพอลิพรอพิลีน พอลิสไตรีน และน้ำมันหล่อลื่นที่ใช้แล้ว ด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาเหล็กบนถ่านกัมมันต์ในเครื่องปฏิกรณ์แบบท่ออย่างต่อเนื่องขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.0045 เมตร ยาว 12 เมตร โดยกระบวนการแตกตัวจะทำการศึกษาที่อุณหภูมิ 390 450 องศาเซลเซียส อัตราการไหลเข้าของสารตั้งต้น 0.32 1.23 กรัมต่อนาที อัตราส่วนของพลาสติกผสมพอลิพรอพิลีนต่อพอลิสไตรีนที่ใช้คือ 70:30 โดยน้ำหนัก จำนวนร้อยละ 1 10 โดยน้ำหนักของสารตั้งต้น อัตราการไหลเข้าของแก๊สไฮโดรเจน 5 10 มิลลิลิตรต่อนาที และปริมาณของตัวเร่งปฏิกิริยาเหล็กบนถ่านกัมมันต์ร้อยละ 0.10 1.00 โดยน้ำหนัก แล้วนำผลิตภัณฑ์ที่ได้มาทดสอบปริมาณของน้ำมันชนิดเบาที่เกิดขึ้นด้วย Simulated Distillation Gas Chromatography (DGC) เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์น้ำมันและองค์ประกอบที่ดีที่สุด จากผลการทดลองพบว่าภาวะที่เหมาะสมของการแตกตัวพอลิพรอพิลีน พอลิสไตรีน และน้ำมันหล่อลื่นที่ใช้แล้ว ด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาเหล็กบนถ่านกัมมันต์ในเครื่องปฏิกรณ์แบบท่ออย่างต่อเนื่องคือ อุณหภูมิ 430 องศาเซลเซียส อัตราการไหลเข้าของสารตั้งต้น 2.01 กรัมต่อนาที ปริมาณพลาสติกผสมพอลิพรอพิลีนต่อพอลิสไตรีน 70:30 โดยน้ำหนัก จำนวนร้อยละ 10 โดยน้ำหนักของสารตั้งต้น อัตราการไหลเข้าของแก๊สไฮโดรเจน 5 มิลลิลิตรต่อนาที และปริมาณของตัวเร่งปฏิกิริยาเหล็กร้อยละ 5 บนถ่านกัมมันต์ร้อยละ 0.75 โดยน้ำหนัก ซึ่งในภาวการณ์ทดลองนี้จะได้ผลิตภัณฑ์น้ำมันที่เกิดการแตกตัวร้อยละ 39.26 ผลิตภัณฑ์ของแข็งและแก๊สร้อยละ 37.28 เมื่อนำผลิตภัณฑ์น้ำมันมาวิเคราะห์หาการกระจายตัวของผลิตภัณฑ์ พบว่ามีปริมาณแนฟทาร้อยละ 20.51 เคโรซีนร้อยละ 4.20 แก๊สออยล์เบาร้อยละ 11.60 แก๊สออยล์ร้อยละ 2.95 และกากน้ำมันหนักร้อยละ 23.46 โดยน้ำหนักen_US
dc.description.abstractalternativeThis research wrok is to study the catalytic cracking of polypropylene, polystyrene and used lubricating oil with Fe/Activated carbon in a tubular continuous reactor 0.0045 meters inside diameter and 12 meters long. The experiment was carried out under various conditions by the following variables: reaction temperature ranging from 390 to 450 degree of Celsius, feed rate from 0.32 to 1.23 g/min, amount of PP : PS ratio 70:30 from t.00% to 10.00% by weight, flow rate of hydrogen gas between 5 and 10ml/min, amount of Fe loading on activated carbon as a catalyst ranging from 0.10% to 1.00% by weight. To determine the optimum conditions, the product oil was analyzed by Simulated Distillation Gas Chromatography (DGC). The optimum conditions of catalytic cracking of polypropylene, polystyrene and used lubricating oil with Fe/activated carbon were reaction temperature of 430 degree of Celsius, feed rate at 2.01 g/mn, 10.00% by weight of plastic mixture mixed in 70:30 ratio of PP : Ps, o.75% by weight of 5% Fe loading on activated carbon and flow rate of hydrogen gas at 5 ml/min. The cracked products consisted of 39.26% conversion and 37.28% yield of solid and gas. The product distribution of oil was naphtha, kerosene, light gas oil, gas oil and long residue (20,51, 4.20, 11.60, 2.95, 23,46 percentage by weight, respectively).en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1291-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectผลิตภัณฑ์น้ำมันen_US
dc.subjectการแตกตัวด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาen_US
dc.subjectคาร์บอนกัมมันต์en_US
dc.subjectCatalytic cracking
dc.subjectCarbon, Activated
dc.titleการแตกตัวเชิงเร่งปฏิกิริยาของพอลิพรอพิลีน พอลิสไตรีน และน้ำมันหล่อลื่นใช้แล้วด้วยเหล็กบนถ่านกัมมันต์ในเครื่องปฏิกรณ์แบบต่อเนื่องen_US
dc.title.alternativeCatalytic cracking of polypropylene, polystyrene and used lubricating oil with Fe/activated carbon in a continuous reactoren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเคมีเทคนิคen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisortharapong.v@chula.ac.th
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.1291-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sindara_th_front.pdf315.06 kBAdobe PDFView/Open
sindara_th_ch1.pdf172.75 kBAdobe PDFView/Open
sindara_th_ch2.pdf921.53 kBAdobe PDFView/Open
sindara_th_ch3.pdf319.8 kBAdobe PDFView/Open
sindara_th_ch4.pdf997.05 kBAdobe PDFView/Open
sindara_th_ch5.pdf179.31 kBAdobe PDFView/Open
sindara_th_back.pdf472.39 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.