Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5152
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพชรวรรณ จันทรางศุ-
dc.contributor.authorจริยาพร ใบหาญ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-12-27T01:46:26Z-
dc.date.available2007-12-27T01:46:26Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741749899-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5152-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความรู้ผู้ปกครองเกี่ยวกับการคบเพื่อนต่างเพศของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยการจัดกิจกรรมตามแนวคิดของเออร์บาช กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ปกครองของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนมหาภาพกระจาดทองอุปถัมภ์ จังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 25 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบความรู้ แบบวัดเจตคติ แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสังเกตพฤติกรรม และแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ระยะเวลาในการทดลอง 10 สัปดาห์ ผลการวิจัยพบว่า 1. ค่าเฉลี่ยของคะแนนความรู้ของผู้ปกครองเกี่ยวกับการคบเพื่อนต่างเพศของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังการทดลองสูงกว่าก่อนทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ค่าเฉลี่ยของคะแนนความรู้ของผู้ปกครองเกี่ยวกับการคบเพื่อนต่างเพศของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังการทดลองสูงกว่าเกณฑ์การประเมิน คือ 75% 3. ค่าเฉลี่ยของคะแนนเจตคติของผู้ปกครองเกี่ยวกับการคบเพื่อนต่างเพศของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. ค่าเฉลี่ยของคะแนนเจตคติของผู้ปกครองเกี่ยวกับคบเพื่อนต่างเพศของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังการทดลองสูงกว่าเกณฑ์การประเมิน คือ 80% 5. ผู้ปกครองส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อกิจกรรมส่งเสริมความรู้ ตามแนวคิดของเออร์บาช 6. ผู้ปกครองส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมด้านการชมเรื่องราวจากวีดีทัศน์ ด้านความเหมาะสมของคู่มือผู้ปกครอง ด้านสถานที่ในการจัด ด้านความรู้ที่ได้รับ และด้านการนำไปใช้ในระดับมากen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to enhance of parents' knowledge on opposite gender friend making of prathom suksa six students by organizing activities according to Auerbach's approach. The subjects were 25 parents of prathom suksa six students in Mahaphabkajathongaupathum school, Samuphakarn Province. The research instruments were knowledge test, attitude test, the questionnaire, the observation form, and the interview form. Data were analyzed by using mean, standard deviation and t-test. The duration of data collection was 10 weeks. The results were as follows: 1. After using the enhancement knowledge the parents had knowledge scores in opposite gender friend making of children higher than before at the .05 level of significance. 2. After using the enhancement knowledge the parents had knowledge scores in opposite gender friend making of children higher than 75% 3. After using the enhancement knowledge the parents had attitude scores in opposite gender friend making of children higher than before at the .05 level of significance. 4. After using the enhancement knowledge the parents had attitude scores in opposite gender friend making of children higher than 80% 5. Most parents' opinion about participation in the enhancement knowledge to Auerbach's approach. 6. Most parents' opinion about participation on the presentation of tape, the appropriateness of parent handbook, place, and usefulness of participation in the enhancement knowledge was at the high level.en
dc.format.extent2539187 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2003.456-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectผู้ปกครองกับเด็กen
dc.subjectเด็ก -- การดูแลen
dc.subjectความสัมพันธ์ระหว่างบุรุษและสตรีen
dc.subjectนักเรียนประถมศึกษาen
dc.titleการส่งเสริมความรู้ผู้ปกครองเกี่ยวกับการคบเพื่อนต่างเพศของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยการจัดกิจกรรมตามแนวคิดของเออร์บาชen
dc.title.alternativeThe enhancement of parents' knowledge on opposite gender friend making of prathom suksa six students by organizing activities according to Auerbach's approachen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineประถมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2003.456-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jariyaporn.pdf2.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.