Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52252
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเอื้ออารีย์ อิ้งจะนิลen_US
dc.contributor.advisorพล ธีรคุปต์en_US
dc.contributor.authorสาริศ พันธุ์นราen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2017-03-03T03:03:41Z-
dc.date.available2017-03-03T03:03:41Z-
dc.date.issued2559en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52252-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559en_US
dc.description.abstractจากการดำเนินกระบวนการระงับข้อพิพาททางภาษีโดยการไกล่เกลี่ยในชั้นศาลของประเทศไทยในปัจจุบัน พบว่ากระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาททางภาษีดังกล่าวนั้นยังไม่มีบทบัญญัติเฉพาะที่จะนำมาใช้กับการระงับข้อพิพาทโดยการไกล่เกลี่ย ทั้งในประเด็นของหลักเกณฑ์เเละวิธีการในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาททางภาษี บทบัญญัติที่ให้อำนาจพนักงานหรือเจ้าหน้าที่ของกรมสรรพากรในการเจรจาต่อรองหรือทำข้อตกลงในกระบวนการไกล่เกลี่ย รวมทั้งมาตรการที่จะเข้ามาสร้างหลักประกันความเป็นธรรมเเละกำกับดูเเลพฤติกรรมของผู้เสียภาษีที่เข้าสู่กระบวนการไกล่เกลี่ย จึงทำให้กระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาททางภาษีไม่สามารถระงับข้อพิพาททางภาษีได้อย่างมีประสิทธิภาพ ขาดหลักประกันในการสร้างความเป็นธรรมให้กับผู้เสียภาษีที่มีข้อพิพาทหรือประเด็นเเห่งคดีลักษณะเดียวกันที่เข้าสู่กระบวนการไกล่เกลี่ย เเละอาจทำให้เกิดการดำเนินกระบวนการหรือการนำกระบวนการไกล่เกลี่ยไปใช้กับการระงับข้อพิพาททางภาษีอย่างบิดเบือนเเละผิดวัตถุประสงค์ ในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ผู้เขียนจึงได้ศึกษาสภาพปัญหาต่างๆที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการระงับข้อพิพาททางภาษีโดยการไกล่เกลี่ยในชั้นศาล พร้อมกับได้เสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้อง 4 ประเด็นหลัก ได้แก่ 1. ออกบทบัญญัติหรือกฎหมายที่ใช้สำหรับการระงับข้อพิพาทโดยการไกล่เกลี่ยในคดีภาษีอากรโดยเฉพาะ 2. ออกบทบัญญัติให้อำนาจหรือรองรับการใช้อำนาจของพนักงานหรือเจ้าหน้าที่ในการทำการเจรจาต่อรองหรือข้อตกลงใดๆในกระบวนการไกล่เกลี่ย 3. ออกมาตรการเพื่อป้องกันและสร้างความเป็นธรรมภายในกระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาททางภาษี 4. ออกมาตรการควบคุมและกำกับดูแลพฤติกรรมของผู้เสียภาษีที่เข้าสู่กระบวนการระงับข้อพิพาทโดยการไกลเกลี่ยในข้อพิพาททางภาษีen_US
dc.description.abstractalternativeAs current situation of taxation dispute in Thailand there are many cases filed to the court which now are pending illegal procedure. The concept of mediation which is consider for case settlement in the court focus on public interest which shall be considered base on fairness of the cases management and public interest protection. Also fairness control and protection and taxes payer behavior for such settlement. But after studying in taxation mediation system in Thailand at present, it found that cannot meet such mediation concept which also need case management increasingly base on public interest protection as of the weakness of its legislations and measures to control taxes payer behavior in procedure. On this thesis, I therefore study in obstructions which affect to taxation mediation in court procedure also propose main resolving concept in 4 points which are 1. Issuance of related legislation and measures in taxation mediation 2. Issuance of related legislation and measures empower the authorized officers in mediation 3. Issuance of defensive measures and to promote fairness in taxation mediation 4. Issuance of controlled measures to taxes payer behavior who are in the taxation mediationen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.127-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectภาษี -- ไทย-
dc.subjectการระงับข้อพิพาท-
dc.subjectศาลภาษีอากร -- ไทย-
dc.subjectTaxation -- Thailand-
dc.subjectDispute resolution (Law)-
dc.subjectTax courts -- Thailand-
dc.titleปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการระงับข้อพิพาททางภาษีอากรโดยวิธีการไกล่เกลี่ยในชั้นศาลen_US
dc.title.alternativeThe legal problems about tax dispute resolution with mediation in tax courten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineกฎหมายการเงินและภาษีอากรen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorAua-Aree.E@Chula.ac.th,a_aree1079@yahoo.com,Aua-Aree.E@Chula.ac.then_US
dc.email.advisorpaul.th@rd.go.then_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2016.127-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5686255934.pdf54.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.