Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52780
Title: | การศึกษาสมรรถนะงานเชื่อมแบบอาร์คด้วยลวดเชื่อมสารพอกหุ้ม |
Other Titles: | A study of working performance of shield metal Arc welding |
Authors: | กนก หมอกมืด |
Advisors: | ไพโรจน์ ลดาวิจิตรกุล |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
Advisor's Email: | phairoat@hotmial.com |
Subjects: | การเชื่อมอาร์กโลหะก๊าซคลุม งานเชื่อม โลหะ -- การเชื่อม Gas metal arc welding Welding Metals -- Weldability |
Issue Date: | 2556 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | การประเมินการทางานในทางวิศวกรรมอุตสาหการ โดยปกติแล้วจะใช้เวลาในการทางานเป็นตัวชี้วัดหลัก แต่สาหรับงานฝีมือหรืองานที่ต้องอาศัยความเชี่ยวชาญ ที่มีระดับความยากง่ายของงานแตกต่างกัน อาจใช้แนวคิดของ Fitts’ law มาประยุกต์หาตัวชี้วัดสาหรับประเมินการทางาน ที่เรียกว่า สมรรถนะของฟิตส์ (Fitts’ Performance) มาใช้ประกอบการวางแผนและการประเมินการทางาน งานเชื่อมโลหะ เป็นงานฝีมือได้ถูกนามาหาสมรรถนะของงานเชื่อม เริ่มต้นจากการหารูปแบบความยากง่ายของงานเชื่อม จากท่าเชื่อมและรอยต่อชิ้นงานทั้ง 6 รูปแบบ (3 ท่าเชื่อม x 2 รอยต่อชิ้นงาน) โดยมีช่างเชื่อมอาชีพที่มีความสมัครใจเข้าร่วมการทดลองนี้ การสร้างการวัดสมรรถนะงานเชื่อมแบบอาร์คด้วยลวดเชื่อมสารพอกหุ้ม ได้กาหนดให้ผู้เข้าร่วมทดสอบเชื่อมชิ้นงานให้เสร็จโดยที่คานึงถึงคุณภาพด้วยความเร็วสูงสุด ตามรูปแบบงานที่กาหนด นาเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ (Movement Time : MT) ที่ได้มาสร้างความสัมพันธ์เชิงเส้นกับดัชนีความยาก(Index of Difficulty : ID) ที่ทาให้ผลรวมค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจ ของสมการถดถอยเชิงเส้นของผู้เข้าร่วมทดสอบทั้ง 4 คน มีค่าสูงสุด แต่เนื่องจาก ID ของงานเชื่อมเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative) การสร้าง ID จึงเป็นการหาวิธีในการระบุมาตรา ID และจากการวิเคราะห์ผลการทดลองสามารถหาวิธีสร้าง ID ได้ 2 วิธีคือ สร้าง ID จากค่าเฉลี่ย MT และ สร้าง ID จากการหาค่าที่เหมาะสมที่สุด (Optimization) ซึ่งทั้งสองแบบทาให้ผลรวมค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจของผู้ทดสอบ 4 คน ใกล้เคียงกัน จากการกาหนด ID ของงานเชื่อมแบบอาร์คด้วยลวดเชื่อมสารพอกหุ้ม ทาให้สามารถเปรียบเทียบสมรรถนะของผู้ทดสอบได้ และสามารถแปลผลจากกราฟสมรรถนะได้หลายรูปแบบ ที่จะแสดงให้เห็นว่าผู้ทดสอบมีสมรรถนะเป็นอย่างไร เป็นประโยชน์ต่อการนาไปใช้ในการวางแผนการผลิต มอบหมายงาน ประเมินความสามารถ ประเมินค่าจ้าง และการพัฒนาฝีมือแรงงาน |
Other Abstract: | Commonly, work evaluating in Industrial Engineering uses working time as a primary indicator. However, the skilled or professional work which have a variety of difficulty level, may applied Fitts’ law concept to evaluate work as call as Fitts’ performance. It also can use for work planning. A metal arc welding is a kind of skill work. In this study, there were 3 posture factors and 2 welding joint factors. Which were used to create 6 level of Index of Difficulty (ID). Four experience welders were recruited voluntary as the subject. In order to evaluate the work performance of shield metal arc welding, subjects were order to work with maximum speed within the acceptable quality level. For the results, movement time (MT) was used to create relationship with ID. The target was to maximize total coefficient of determinant of the performance line from 4 subjects. However, ID of metal arc welding are qualitative data. So establish ID is to define ID scale. Two methods were proposed to define ID. One was created from average MT and another one was created from Optimization. Establish Index of Difficulty of shield metal arc welding is useful for performance evaluation. It can apply for production planning, work assignment, wage estimate and skill training. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556 |
Degree Name: | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | วิศวกรรมอุตสาหการ |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52780 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1809 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2013.1809 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
kanok_mo.pdf | 3.19 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.