Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53367
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสันติ ภัยหลบลี้-
dc.contributor.authorพรรณราย แซ่เห้ง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialอินโดนีเซีย-
dc.date.accessioned2017-09-28T08:03:56Z-
dc.date.available2017-09-28T08:03:56Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53367-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556en_US
dc.description.abstractสึนามิครั้งใหญ่ในประเทศไทยเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 นำความสูญเสียสู่ประเทศไทยเป็น อย่างมาก ซึ่งจากการสำรวจต่อมาบ่งชี้ว่าภัยพิบัติสึนามิดังกล่าว เกิดจากแผ่นดินไหวใต้ทะเลขนาด 9.1 ริกเตอร์ ทางตอนเหนือของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนิเซีย ซึ่งอยู่ในพื้นที่เขตมุดตัวของแผ่นเปลือกโลก สุมาตรา-อันดามัน ดังนั้นทางผู้จัดทำจึงมีความสนใจศึกษาทำการประเมินความน่าจะเป็นของการเกิด แผ่นดินไหวในรูปแบบของพฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหวในพื้นที่ เพื่อเป็นข้อมูลทางการศึกษาที่นาไปใช้ ประโยชน์และทาให้เข้าใจถึงพฤติกรรมการเกิดของแผ่นดินไหวในพื้นที่ศึกษา การประเมินความน่าจะเป็นของการเกิดแผ่นดินไหวตามแนวมุดตัวของแผ่นเปลือกโลกสุมาตรา- อันดามัน คือการศึกษาพฤติกรรมของการเกิดแผ่นดินไหวจากสมการความสัมพันธ์ระหว่างความถี่และ ขนาดแผ่นดินไหว โดยนาไปประเมินพฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหวเบื้องต้น แล้วนาไปศึกษาแสดงเป็นแผน ที่การกระจายตัวของข้อมูล พบว่าบริเวณพื้นที่ทางตอนใต้ของแนวมุดตัวมีความเสี่ยงในด้านต่างๆสูง เป็นดังนี้ 1. ความน่าจะเป็นในการเกิดแผ่นดินไหวขนาดสูงสุดที่สามารถเกิดขึ้นได้ พบว่าบริเวณทางตอนใต้ ของแนวมุดตัวแผ่นเปลือกโลกสุมาตรา-อันดามัน สามารถเกิดแผ่นดินไหวได้ในขนาดใหญ่สูงสุดถึง 5.6 7.0 7.6 และ 8.4 ริกเตอร์ ในรอบ 1 5 10 และ 50 ปี ตามลาดับ 2. คาบอุบัติซ้ำของการเกิดแผ่นดินไหว ขนาด 4-7 ริกเตอร์ เมื่อพิจารณาพื้นที่ทางตอนใต้ของแนวมุดตัวสุมาตรา-อันดามัน มีช่วงระยะเวลาของ คาบอุบัติซ้ำส่วนใหญ่อยู่ประมาณ 0.1-0.4 0.55-1.25 1.5-7.0 และ 5-40 ปี ตามลำดับ 3.ความน่าจะเป็น ของการเกิดแผ่นดินไหวขนาด 5-7 ริกเตอร์ ในรอบ 50 ปี บริเวณพื้นที่ทางตอนใต้ของแนวมุดตัวมีโอกาสใน การเกิดเป็นส่วนใหญ่อยู่ช่วงประมาณ 40-50% 30-50% และ 10-50% ตามลำดับen_US
dc.description.abstractalternativeAccording to the 2004 Tsunami hazard, the coastal communities along the Indian Ocean recognized that the Sumatra-Andaman Subduction Zone (SASZ) is one of the most hazardous seismogenic source zone. Therefore, the earthquake activities along the SASZ should be clarified. Based on the frequency-magnitude distribution model, the earthquake activities are analyzed spatially along the SASZ. The obtained results revealed that the southern part of the SASZ in the highest activities of earthquake. The earthquake with magnitude 5.6, 7.0, 7.6 and 8.4 Mw capable to generated in the next 1, 5, 10 and 50 year, respectively along the southern part of the SASZ. Meanwhile for the return period of earthquake, the earthquake with magnitude 4.0-7.0 Mw generate along the southern part in every 0.1-0.4, 0.55-1.25, 1.5-7.0 and 5-40 year. In addition for probability of earthquake occurrence, there are around 40-50 %, 30-50 % and 10-50 %, the earthquake with magnitude 5.0-7.0 Mw might be posed along the southern part of the SASZ in the upcoming 50 year.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแผ่นดินไหว -- อินโดนีเซียen_US
dc.subjectพยากรณ์แผ่นดินไหว -- อินโดนีเซียen_US
dc.subjectสึนามิ -- อินโดนีเซียen_US
dc.subjectวิทยาแผ่นดินไหวen_US
dc.subjectEarthquakes -- Indonesiaen_US
dc.subjectEarthquake prediction -- Indonesiaen_US
dc.subjectTsunamis -- Indonesiaen_US
dc.subjectSeismologyen_US
dc.titleการประเมินความน่าจะเป็นของการเกิดแผ่นดินไหวตามแนวมุดตัวของแผ่นเปลือกโลกสุมาตรา-อันดามันen_US
dc.title.alternativeProbabilistic analysis of earthquakes occurrence along the Sumatra-Andaman subduction zoneen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorPailoplee.S@hotmail.com-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5332723023 พรรณราย แซ่เห้ง.pdf4.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.