Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53400
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorVoravee P. Hoven-
dc.contributor.advisorPitt Supaphol-
dc.contributor.authorSarayut Kusakul-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Science-
dc.date.accessioned2017-10-03T05:59:14Z-
dc.date.available2017-10-03T05:59:14Z-
dc.date.issued2008-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53400-
dc.descriptionThesis (M.Sc)--Chulaongkorn University, 2008en_US
dc.description.abstractIn this study, isotactic-polypropylene (iPP) composites reinforced with an organoclay were prepared by a twin-screw extruder by blending iPP with clay that modified with an amine surfactant. The use of surfactant caused the layered silicate of organoclay in iPP/organoclay nanocomposites to move further apart. After that iPP/organoclay nanocomposites were then blended with iPP that had been reinforced with glass fibers using the twin-screw extruder in various blend ratios. The iPP/glass fibers /organoclay nanocomposites were then characterized for their morphology and various properties, thermal and mechanical integrity. X-ray diffraction (XRD) analysis indicated that the silicate layers of the organoclay in the nanocomposites were more ordered than those of the original organoclay, which was confirmed by transmission electron microscopy (TEM). The iPP/organoclay nanocomposites showed greater content of β-crystalline phase, increased degree of crystallinity, and increased crystallization temperature than the iPP/glass fibers composites, which was confirmed by both XRD and differential scanning calorimetry (DSC) results. With regards to the mechanical properties, iPP/organoclay nanocomposites exhibited lower stiffness than iPP/glass fibers composites. Interestingly, the iPP/glass fibers/organoclay nanocomposites exhibited much improved stiffness than both of the iPP/organoclay nanocomposites and the iPP/glass fibers composites.en_US
dc.description.abstractalternativeในงานวิจัยนี้พอลิโพรพิลีนคอมพอสิตที่เสริมแรงด้วยดินเหนียวแปรรูปอินทรีย์ถูกเตรียมขึ้นด้วยเครื่องผสมอัดรีดแบบเกลียวหนอนคู่ในการหลอมเหลวผสมพอลิโพรพิลีนกับดินเหนียวแปรรูปอินทรีย์การใช้สารลดแรงตึงผิวมีผลทำให้ชั้นผลึกซิลิเกตของดินเหนียวแปรรูปอินทรีย์ในพอลิโพรพิลีนคอมพอสิตที่เสริมแรงด้วยดินเหนียวแปรรูปอินทรีย์ขยายตัวกว้างออกของชั้นผลึก จากนั้นจึงทำการผสมพอลิโพรพิลีนคอมพอสิตที่เสริมแรงด้วยดินเหนียวแปรรูปอินทรีย์กับพอลิโพรพิลีนคอมพอสิตที่เสริมแรงด้วยกลาสไฟเบอร์ในสัดส่วนต่างๆ กันด้วยเครื่องผสมอัดรีดแบบเกลียวหนอนคู่ จากนั้นจึงนำไปฉีดขึ้นรูปเป็นดัมเบล ชิ้นงานพอลิโพรพิลีนคอมพอสิตผสมที่เตรียมได้ถูกวิเคราะห์เพื่อศึกษาถึงสัณฐานวิทยา และสมบัติด้านต่างๆ เช่น สมบัติทางความร้อน และสมบัติเชิงกล ผลการวิเคราะห์ชิ้นงานด้วยการกระเจิงของรังสีเอ็กซ์ระบุว่าการจัดเรียงตัวของชั้นผลึกซิลิเกตของดินเหนียวแปรรูปอินทรีย์ในพอลิโพรพิลีนคอมพอสิตมีความเป็นระเบียบสูงกว่าดินเหนียวแปรรูปอินทรีย์ก่อนผสม และการผสมทำให้เกิดการแทรกสอดของพอลิโพรพิลีนในชั้นผลึกซิลิเกตด้วย ซึ่งได้รับการยืนยันจากการวิเคราะห์ด้วยเครื่องจุลทรรศน์อิเลคตรอนแบบทะลุผ่าน นอกจากนี้ การเติมดินเหนียวแปรรูปอินทรีย์ลงไปในพอลิโพรพิลีนช่วยทำให้สัดส่วนของโครงสร้างผลึกเบตา (β) เปอร์เซ็นต์ผลึก และอุณหภูมิของการเกิดผลึก เพิ่มขึ้นสูงกว่าพอลิโพรพิลีนคอมพอสิตที่เสริมแรงด้วยกลาสไฟเบอร์ซึ่งยืนยันได้จากผลการทดลองทางความร้อนและการกระเจิงของรังสีเอ็กซ์ ในด้านสมบัติเชิงกล พอลิโพรพิลีนคอมพอสิตที่เสริมแรงด้วยดินเหนียวแปรรูปอินทรีย์ให้ค่าความแข็งแรงต่ำกว่าพอลิโพรพิลีนคอมพอสิตที่เสริมแรงด้วยกลาสไฟเบอร์เป็นที่น่าสนใจเป็นอย่างยิ่งว่า พอลิโพรพิลีนคอมพอสิตผสมให้ค่าความแข็งแรงสูงกว่าพอลิโพรพิลีนคอมพอสิตที่เสริมแรงด้วยดินเหนียวแปรรูปอินทรีย์และที่เสริมแรงด้วยกลาสไฟเบอร์en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.1765-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectPolypropyleneen_US
dc.subjectComposite materialsen_US
dc.subjectReinforced soilsen_US
dc.subjectGlass fibersen_US
dc.subjectโพลิโพรพิลีนen_US
dc.subjectวัสดุเชิงประกอบen_US
dc.subjectใยแก้วen_US
dc.subjectดินเสริมแรงen_US
dc.titleMechanical properties of polypropylene composites reinforced by organoclays and glass fibersen_US
dc.title.alternativeสมบัติเชิงกลของพอลิโพรพิลีนคอมพอสิตที่เสริมแรงด้วยออการ์โนเคลย์และกลาสไฟเบอร์en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplinePetrochemistry and Polymer Scienceen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorvipavee.p@chula.ac.th-
dc.email.advisorpitt.s@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.1765-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sarayut_ku_front.pdf1.3 MBAdobe PDFView/Open
sarayut_ku_ch1.pdf444.77 kBAdobe PDFView/Open
sarayut_ku_ch2.pdf1.3 MBAdobe PDFView/Open
sarayut_ku_ch3.pdf558.53 kBAdobe PDFView/Open
sarayut_ku_ch4.pdf1.52 MBAdobe PDFView/Open
sarayut_ku_ch5.pdf335.09 kBAdobe PDFView/Open
sarayut_ku_back.pdf1.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.