Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53622
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัคนีวุธ ชะบางบอน-
dc.contributor.advisorปรมิตา พันธ์วงศ์-
dc.contributor.authorวรกมล นัดนะรา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialพัทลุง-
dc.date.accessioned2017-10-29T07:50:30Z-
dc.date.available2017-10-29T07:50:30Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53622-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559en_US
dc.description.abstractเรณูวิทยาเป็นตัวบ่งชี้หนึ่งที่มีการใช้ศึกษาสภาพแวดล้อมบรรพกาลอย่างแพร่หลาย เนื่องจากลักษณะเฉพาะของสัณฐานเรณูสามารถบ่งบอกชนิดของพืชได้ ทาให้ทราบสภาพแวดล้อมที่พืชชนิดนั้นมีการเจริญเติบโต ในการศึกษาครั้งนี้จะนำตัวอย่างจากแท่งตะกอน TLN-CP5 ที่ได้จากทะเลน้อยมาทำการจำลองสภาพแวดล้อม ใช้จำนวนตะกอน 16 ตัวอย่าง เพื่อนำมาสกัดละอองเรณูออกจากชั้นตะกอนแล้วนำไปวิเคราะห์เพื่อนำไปบ่งบอกการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมบริเวณพื้นที่ศึกษา จากการศึกษากลุ่มของละอองเรณู สามารถจำแนกกลุ่มของพืชตามสภาพแวดล้อมได้ 3 สภาพแวดล้อม ได้แก่ สภาพแวดล้อมป่าชายเลน, สภาพแวดล้อมหลังป่าชายเลน และสภาพแวดล้อมแบบพรุน้ำจืด ช่วงเวลาก่อน 8,170 ปีก่อน บริเวณนี้มีสภาพแวดล้อมเป็นทะเล ต่อมาได้สภาพแวดล้อมป่าชายเลนขึ้นเมื่อประมาณ 8,170 ปีก่อน แล้วเกิดการเปลี่ยนแปลงไปเป็นสภาพแวดล้อมหลังป่าชายเลนเมื่อประมาณ 8,125 ปีก่อน ต่อมาการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมกลับไปเป็นป่าชายเลนอึกครั้งหนึ่งเมื่ออายุประมาณ 8,000 ปีก่อน หลังจากนั้นจะเกิดสภาพแวดล้อมแบบพรุน้ำจืดแทนที่ป่าชายเลน แล้วพัฒนาตัวกลายเป็นทะเลน้อยในปัจจุบันen_US
dc.description.abstractalternativePalynology is widely used in paleoenvironmental reconstruction. Pollen have specific morphology and can be trace back to their parents. I used sediment samples collected from Thale Noi to assess the past environment in the study area. 16 sediment samples have been selected, extract pollen and analyze. Pollen assemblages can be divided into 3 zones followed their ecology, i.e. mangrove, back mangrove, and freshwater swamp. Mangrove, back mangrove, and freshwater swamp environment were dominated by environment Rhizophora, Acrostichum, and family Poaceae respectively. This area is possibly covered by the sea before 8,170 year BP. Then, pollen records indicate an occupy of mangrove environment at about 8,170 year BP. The mangrove was suddenly replaced by back mangrove at about 8,125 year BP. The back mangrove had prevailed and the environment returned to mangrove about 8,000 year BP. Finally, it was replaced by freshwater swamp environment.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเรณูวิทยาen_US
dc.subjectตะกอนวิทยา -- ไทย -- พัทลุงen_US
dc.subjectทะเลน้อย (พัทลุง)en_US
dc.subjectPalynologyen_US
dc.subjectSedimentology -- Thailand -- Phatthalungen_US
dc.subjectThale noi (Phatthalung)en_US
dc.titleการจำลองสภาพแวดล้อมบรรพกาลบริเวณทะเลน้อย จังหวัดพัทลุง โดยอ้างอิงจากตัวบ่งชี้เรณูวิทยาen_US
dc.title.alternativePaleoenvironmental reconstruction based on palynology in Thale noi, Phatthalungen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorakkaneewut@gmail.com-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Worakamon Nudnara.pdf2.16 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.