Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55779
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิสุทธิ์ พิสุทธอานนท์-
dc.contributor.authorรภัสสิทธิ์ บุญศรีรัมย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialพม่า-
dc.coverage.spatialศรีลังกา-
dc.date.accessioned2017-11-06T01:58:40Z-
dc.date.available2017-11-06T01:58:40Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55779-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2552en_US
dc.description.abstractมูนสโตน หรือมุกดาหาร เป็นแร่ที่จัดอยู่ในประเภท ออร์โทเคลส (Orthoclase) เฟลด์สปาร์ เป็นแร่ที่อยู่ในกลุ่ม Tectosilicate มูนสโตนเป็นอัญมณีที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งโดยทั่วไปจะไม่มีสีไปจนถึงมีสีขาวสวยงามลักษณะพิเศษที่สำคัญของมูนสโตนที่กล่าวถึงนั้น คือ เมื่อใดก็ตามที่มีแสงมาตกกระทบที่มูนสโตน จะเกิดปรากฎการณ์ทางแสงที่เรียกว่า Adularescence ซึ่งปรากฎการณ์ทางแสงนี้จะทำให้เกิดเหลือบแสงนวลขาวบนตัวมูนสโตน สาเหตุของการเกิดปรากฎการณ์ทางแสงที่เรียกว่า Adularescence ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ จึงเป็นมูลเหตุจูงใจให้ดำเนินการศึกษาวิจัยในเรื่องนี้ จากการศึกษามูนสโตนจำนวน 17 ตัวอย่าง จากแหล่งประเทศพม่า จำนวน 6 ตัวอย่างและจากแหล่งประเทศศรีลังกา จำนวน 11 ตัวอย่าง พบว่าการดูดกลืนแสงโดยเครื่อง FTIR มีรูปแบบการดูดกลืนแสงของ O-H Stretching ในช่วง 3450-3700 cm⁻¹ การศึกษาโดยเครื่อง UV-VIS-NIR Spectrometer ไม่พบการดูดกลืนแสงเลยเนื่องจากตัวอย่างไม่มีสี แต่จากการศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์แบบโพราไลต์ และการศึกษาเคมีแร่ด้วยเครื่อง EPMA พบว่าองค์ประกอบแร่ในมูนสโตนมีการตอบสนองของแสงต่อแร่ ดังนั้นแร่ที่อยู่ภายในมูนโตนจึงมีความสัมพันธ์กับการเหลือบแสงโดยตรง โดยเฉพาะแร่ Orthoclase (K-feldspar) กับแร่ Albite (Na-felsdspar) ที่เกิดจากกระบวนการ exsolution จึงทำให้เกิดลักษณะที่เรียกว่า Perthite ซึ่งเมื่อแสงผ่านตัวมูนสโตนที่มีลักษณะ Perthite แล้วจึงเป็นปัจจัยหลักที่ทำให้เกิดการเหลือบแสงที่ผิวของมูนสโตนได้en_US
dc.description.abstractalternativeMoonstone is orthoclase feldspar which is in tectosilicate group. Moonstone has a special characteristic called adularescence which appears as white to bluish white reflection from interior of the stone. The cause of adularescence phenomenon is still unclear, so it needs further study. This study uses 17 specimens of moonstone which comprises 6 samples from Myanmar and 11 samples from Sri Lanka. From the FTIR absorption spectra, O-H stretching were observed at about 3450-3700 cm-1. The UV-VIS-NIR absorption spectra give no absorption in visible range due to its colorless nature. From petrographic study and chemical analysis by EPMA, the variation of mineral compositions in moonstone is probably related to adularescence phenomenon especially orthoclase (K _ feldspar) and Albite (Na _felsdspar) which was resulted from exsolution called perthite. Perthite is the crucial factor which causes adularescenceen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectศิลาวิทยาen_US
dc.subjectศิลาวิทยา -- พม่าen_US
dc.subjectศิลาวิทยา -- ศรีลังกาen_US
dc.subjectพลอยจันทรกานต์en_US
dc.subjectพลอยจันทรกานต์ -- การวิเคราะห์en_US
dc.subjectพลอยจันทรกานต์ -- พม่าen_US
dc.subjectพลอยจันทรกานต์ -- ศรีลังกาen_US
dc.subjectPetrologyen_US
dc.subjectPetrology -- Burmaen_US
dc.subjectPetrology -- Sri Lankaen_US
dc.subjectMoonstonesen_US
dc.subjectMoonstones -- Analysisen_US
dc.subjectMoonstones -- Burmaen_US
dc.subjectMoonstones -- Sri Lankaen_US
dc.titleลักษณะเฉพาะของมุกดาหารจากแหล่งประเทศพม่าและประเทศศรีลังกาen_US
dc.title.alternativeCharacteristics of Myanmar and Sri Lanka moonstonesen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Raphassi_Full report.pdf1.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.