Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56853
Title: | สภาพการจัดการเรียนการสอนระดับก่อนประถมศึกษา ในโรงเรียนเอกชนกรุงเทพมหานคร |
Other Titles: | State of pre-school instructional management in private schools, Bangkok metropolis |
Authors: | โสภิตอนงค์ บุญช่วย |
Advisors: | ปานตา ใช้เทียมวงศ์ โสภาพรรณ ชยสมบัติ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Advisor's Email: | ไม่มีข้อมูล Sopapan.c@chula.ac.th |
Subjects: | การศึกษาขั้นก่อนประถม การศึกษาขั้นก่อนประถม -- ไทย -- กรุงเทพฯ โรงเรียนอนุบาล -- ไทย -- กรุงเทพฯ Education, Preschool Education, Preschool -- Thailand -- Bangkok Kindergarten -- Thailand -- Bangkok |
Issue Date: | 2531 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มุจุดมุ่งหมายเพื่อการศึกษาสภาพการจัดการเรียนการสอนระดับก่อนประถมศึกษาของโรงเรียนเอกชน ในกรุงเทพมหานครและศึกษาถึงความคิดเห็นของผู้ปกครอง เกี่ยวกับสภาพการจัดการเรียนการสอนระดับก่อนประถมศึกษา ในโรงเรียนเอกชน กรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบว่า สภาพการจัดการเรียนการสอนระดับก่อนประถมศึกษาของโรงเรียนเอกชนในกรุงเทพมหานคร มีการถูกกำหนดในการจัดการเรียนการสอนไว้และปฏิบัติงานตามนโยบายบรรลุผลปานกลาง การจัดการเรียนการสอนยังเน้นเนื้อหาวิชามากกว่าการเตรียมความพร้อม โดยใช้แนวการจัดประสบการณ์ที่โรงเรียนจัดทำขึ้นเอง การนิเทศการสอนเป็นการนิเทศภายใน สื่อที่ใช้อยู่ในสภาพดี แต่เครื่องเล่นมีจำนวนไม่เพียงพอกับนักเรียน ครูไม่มีเวลาและขาดเครื่องมือในการวัดและประเมินผล ส่วนการจัดการเรียนและบริการต่างๆอาคารสถานที่ ครุภัณฑ์ ความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับผู้ปกครองโรงเรียนจัดทำได้ดี ผู้ปกครองมีความเห็นว่าโรงเรียนจัดการเรียนการสอนในด้านต่างๆ ได้ตาวความต้องการของผู้ปกครองแต่ขอให้โรงเรียนจัดเตรียมความพร้อมให้นักเรียนมากขึ้น |
Other Abstract: | The purpose of this research was to study the state of pre-school instructional management in private schools, Bangkok metropolis and the parents’ opinions on that matter. It was found that all the private schools had their own objectives and policy in pre-school instructional management, and they can fulfill them at moderate level. Anyway, many schools still emphasize on the content rather than readiness program. Their own curriculum and internal supervision were generally used. The instructional medias were good but there were not adequate toys for the children. The teachers do not have enough time as well as proper instruments for evaluation. On the other hand, most of the schools had good student activities, enough buildings, and proper equipments, good school services and good parent and teacher relationship. The school instructional management is approved by most parents. They also suggested that the schools should emphasized more on readiness preparation. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531 |
Degree Name: | ครุศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | ประถมศึกษา |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56853 |
ISBN: | 9745691976 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sopitanong_bo_front.pdf | 1.58 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sopitanong_bo_ch1.pdf | 1.3 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sopitanong_bo_ch2.pdf | 7.6 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sopitanong_bo_ch3.pdf | 1.14 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sopitanong_bo_ch4.pdf | 9.65 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sopitanong_bo_ch5.pdf | 2 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sopitanong_bo_back.pdf | 9.2 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.