Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5715
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเพ็ญพิไล ฤทธาคณานนท์-
dc.contributor.authorสุธีรา แสงศิริสายันห์กุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2008-02-01T01:59:22Z-
dc.date.available2008-02-01T01:59:22Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741749643-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5715-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบพัฒนาการความสามารถของเด็กอายุ 5 ปี 8 ปี และ 11 ปี ในการใช้ข้อมูลแรงจูงใจในการอนุมานลักษณะนิสัยและทำนายพฤติกรรมชอบช่วยเหลือของผู้อื่น กลุ่มตัวอย่างมี 120 คน แบ่งเป็นระดับอายุละ 40 คน (ชาย 20 คน และหญิง 20 คน) สถานการณ์ที่ใช้ในการทดสอบมี 4 ประเภท ซึ่งมีการจัดลำดับสลับกันเพื่อให้มีการถ่วงสมดุล (counterbalance) ดังนั้นเด็กแต่ละคนได้รับการทดสอบสถานการณ์ทั้งหมด 4 สถานการณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ครั้งนี้คือ การวิเคราะห์ความแปรปรวนสองทางรูปแบบประสม (3 x 2 Analysis of Variance (Mixed Design)) ผลการวิจัยแสดงว่า 1. ในสถานการณ์ที่มีข้อมูลแรงจูงใจและผลที่เกิดขึ้นสอดคล้องกัน เด็กอายุ 5 ปี 8 ปี และ 11 ปี มีความสามารถในการอนุมานลักษณะนิสัยของผู้อื่นไม่แตกต่างกัน 2. ในสถานการณ์ที่มีข้อมูลแรงจูงใจและผลที่เกิดขึ้นขัดแย้งกัน เด็กอายุ 5 ปี มีความสามารถในการอนุมานลักษณะนิสัยของผู้อื่นน้อยกว่าเด็กอายุ 8 ปี และ 11 ปี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. ในสถานการณ์ที่มีข้อมูลแรงจูงใจและผลที่เกิดขึ้นสอดคล้องกัน เด็กอายุ 5 ปี 8 ปี และ 11 ปี มีความสามารถในการทำนายพฤติกรรมชอบช่วยเหลือของผู้อื่นไม่แตกต่างกัน 4. ในสถานการณ์ที่มีข้อมูลแรงจูงใจและผลที่เกิดขึ้นขัดแย้งกัน เด็กอายุ 5 ปี มีความสามารถในการทำนายพฤติกรรมชอบช่วยเหลือของผู้อื่นน้อยกว่าเด็กอายุ 8 ปี และ 11 ปี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01en
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this thesis were to compare the development of the ability to use motive information to make trait inference and to predict prosocial behavior in 5, 8, and 11 years-old children. There were 120 participants in the study: 20 boys and 20 girls in each age group. Each participant was presented with 4 types of situation in counterbalance order. A 3 x 2 analysis of variance (mixed design) was conducted for statistical analysis. The results are as follows: 1. In situations that the motive information is in accordance with the outcome, the ability to make trait inferences of others in five, eight, and eleven-year-old children is not different. 2. In situations that the motive information is contradictory to the outcome, the ability to make trait inferences of others in five-year-old children is less than the eight and eleven year-old children (p< .01). 3. In situations that the motive information is in accordance with the outcome, the ability to predict prosocial behavior of others in five, eight, and eleven-year-old children is not different. 4. In situations that the motive information is contradictory to the outcome, the ability to predict prosocial behavior of others in five-year-old children is less than the eight and eleven-year-old children (p< .01).en
dc.format.extent1498416 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectพัฒนาการของเด็กen
dc.subjectนิสัยen
dc.titleพัฒนาการความสามารถในการใช้ข้อมูลแรงจูงใจในการอนุมานลักษณะนิสัยและทำนายพฤติกรรมชอบช่วยเหลือของผู้อื่นในเด็กอายุ 5, 8, และ 11 ปีen
dc.title.alternativeDevelopment of ability to use motive information to make trait inferences and to predict prosocial behavior in 5, 8, and 11 year-old childrenen
dc.typeThesises
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาพัฒนาการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPenpilai.R@chula.ac.th-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sutheera.pdf1.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.