Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5716
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอลิศรา ชูชาติ-
dc.contributor.authorอาภรณ์ แสงรัศมี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-02-01T02:17:59Z-
dc.date.available2008-02-01T02:17:59Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741313705-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5716-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractศึกษาผลของการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นหลักต่อลักษณะการเรียนรู้ด้วยตนเอง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม และความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 แบ่งเป็นกลุ่มทดลองเรียนด้วยวิธีการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นหลัก และกลุ่มเปรียบเทียบเรียนด้วยวิธีการเรียนแบบปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบวัดลักษณะการเรียนรู้ด้วยตนเอง แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม และแบบวัดความพึงพอใจต่อการเรียนการสอน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าเฉลี่ยของผลต่างของคะแนน และสถิติทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. นักเรียนที่เรียนด้วยวิธีการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นหลัก มีคะแนนเฉลี่ยลักษณะการเรียนรู้ด้วยตนเองหลังการเรียน สูงกว่าก่อนการเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และมีคะแนนเฉลี่ยหลังการเรียนสูงกว่า นักเรียนที่เรียนด้วยวิธีการเรียนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. นักเรียนที่เรียนด้วยวิธีการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นหลัก มีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม หลังการเรียนสูงกว่าก่อนการเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แต่คะแนนเฉลี่ยหลังการเรียนของนักเรียน ที่เรียนด้วยวิธีการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นหลัก ไม่แตกต่างจากนักเรียนที่เรียนด้วยวิธีการเรียนแบบปกติ 3. นักเรียนที่เรียนด้วยวิธีการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นหลัก มีความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนในระดับมากen
dc.description.abstractalternativeThis study was a quasi-experimental research. The purposes were to study the effects of problem-based learning on self-directed learning, environmental science achievement and satisfaction towards instruction of mathayom suksa four students. The samples were mathayom suksa four students divided into experimental group learning by problem-based learning method and comparative group learning by convention method. The research instruments were self-directed learning test, environmental science achievement test and questionnaires on satisfaction towards instruction. The collected data were analyzed by percentage, arithmetic means, standard deviation, mean difference and t-test. The research findings were summarized as follows: 1. Students learning by problem-based learning method had the post-test mean scores on self-directed learning higher than the pre-test at the .01 level of significance and higher than the post-test mean scores of the students learning by convention method at the .05 level of significance. 2. Students learning by problem-based learning method had the post-test mean scores on environmental science achievement higher than the pre-test at the .01 level of significance but the post-test mean scores of the students learning by problem-based learning method was not different from mean scores of the students learning by convention method. 3. Students learning by problem-based learning method were satisfied towards problem-based learning at the high level.en
dc.format.extent1406088 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2000.415-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการเรียนที่ใช้ปัญหาเป็นฐานen
dc.subjectนิเวศวิทยา -- การศึกษาและการสอนen
dc.subjectการเรียนรู้ด้วยการนำตนเองen
dc.subjectความพอใจen
dc.titleผลของการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นหลักต่อลักษณะการเรียนรู้ด้วยตนเอง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม และความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4en
dc.title.alternativeEffects of problem-based learning on self-directed learning, environmental science achievement and satisfaction towards instruction of mathayom suksa four studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการศึกษาวิทยาศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorAlisara.C@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2000.415-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Arporn.pdf1.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.