Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58545
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสาวรจน์ ช่วยจุลจิตร์-
dc.contributor.advisorสุจาริณี คชวัฒน์-
dc.contributor.authorอัญญพร บุญมหิทธิสุทธิ์-
dc.date.accessioned2018-04-18T04:10:56Z-
dc.date.available2018-04-18T04:10:56Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58545-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาสมบัติการใช้งานยางธรรมชาติ โดยการผสมน้ำยางธรรมชาติกับนาโนเลเทกซ์ของพอลิสไตรีนและซิลิกาห่อหุ้มด้วยพอลิสไตรีน นาโนเลเทกซ์ถูกสังเคราะห์ด้วยกระบวนการเกิดพอลิเมอร์แบบ ‘อินซิทู’ ดิฟเฟอเรนเชียลไมโครอิมัลชันของสไตรีน มอนอเมอร์ พร้อมนาโนซิลิกาที่ถูกเตรียมผิวด้วยสารคู่ควบ 3-เมทาคริลอกซีโพรพิลไตรเมทอกซีซิเลน อนุภาคของซิลิกาซึ่งถูกห่อหุ้มด้วยพอลิสไตรีนที่ได้จากการสังเคราะห์มีโครงสร้างแบบ ‘คอร์-เชลล์’ และมีขนาดอยู่ในช่วง 36-48 นาโนเมตร ผลจากการทดสอบสมบัติเชิงกลพลวัตรและการตรวจสอบโครงสร้างสัณฐานวิทยาพบว่า การเติมนาโนเลเทกซ์ในยางธรรมชาติส่งผลให้ความเป็น อิลาสติกของโมเลกุลของยางธรรมชาติเพิ่มขึ้นที่อุณหภูมิต่ำ ใกล้เคียงอุณหภูมิกลาสแทรนซิชัน ซึ่งอาจเป็นผลจากโครงสร้างระดับนาโนเมตรแบบกึ่งแทรกขวางที่เกิดขึ้น เมื่อปริมาณของนาโนเลเทกซ์ตั้งแต่ปริมาณ 5 ส่วนในยาง 100 ส่วน ผลจากงานวิจัยแสดงให้เห็นว่า เมื่อเทียบกับยางธรรมชาติที่ไม่ได้ทำการผสม การเติมนาโนเลเทกซ์ในปริมาณ 3 ส่วนในยาง 100 ส่วน ช่วยเพิ่มความทนแรงดึงของยาง ประมาณ 4.5 เมกะปาสคาล นอกจากนี้การเติมนาโนเลเทกซ์ของซิลิกาห่อหุ้มด้วยพอลิสไตรีนส่งผลปรับปรุงให้อัตราลุกลามไฟของยางธรรมชาติลดลง ประมาณ 0.04 เซนติเมตรต่อวินาที อย่างไรก็ตามอนุภาคระดับนาโนเหล่านี้มีผลต่อเสถียรภาพทางความร้อนของยางธรรมชาติอย่างไม่มีนัยสำคัญen_US
dc.description.abstractalternativeThe aim of this research is to improve the application properties of rubber by blending natural rubber (NR) with nanolatex of polystyrene (PS) and PS-encapsulated nanosized silica. PS was synthesized by means of ‘in situ’ differential microemulsion polymerization of styrene monomer in the presence of nanosized silica pretreated with 3-methacryloxypropyltrimethoxy silane coupling agent. The synthesized encapsulated silica had ‘core-shell’ structure with diameter between 36-48 nm. The results from micrographs and dynamic mechanical tests showed that elastic properties of the rubber molecules near glass transition temperature increased with the addition of nanolatex which may caused by the semi-interpenetrating nanostructure observed when the amount of nanolatex in NR was over 5 phr. Compared to unblended NR, it was found that approximate 4.5 MPa of the tensile strength was improved by addition of 3 phr nanolatex. In addition, flame spread rate reduced about 0.04 cm/s when nanolatex and encapsulated silica were added. However, these nanoparticles had insignificant effect on the thermal stability of NR.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.2083-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโพลิสไตรีนen_US
dc.subjectยาง -- คุณสมบัติen_US
dc.subjectPolystyreneen_US
dc.subjectRubber -- Propertiesen_US
dc.titleการเตรียมและสมบัติของยางธรรมชาติผสมนาโนเลเทกซ์ของพอลิสไตรีนและซิลิกาห่อหุ้มด้วยพอลิสไตรีนen_US
dc.title.alternativePreparation and properties of natural rubber blended with nanolatex of polystyrene and polystryrene-encapsulated silicaen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ประยุกต์และเทคโนโลยีสิ่งทอen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorsaowaroj@sc.chula.ac.th-
dc.email.advisorSujarinee.K@Chula.ac.th,sujarinee.chula@gmail.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.2083-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Anyaporn Boonmahitthisud.pdf7.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.