Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58876
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจรุงกุล บูรพวงศ์-
dc.contributor.authorจุลาภา ศรีละเวช-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2018-05-26T08:22:31Z-
dc.date.available2018-05-26T08:22:31Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58876-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en_US
dc.description.abstractศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเพศ ความดึงดูดใจทางกายภาพ เจตคติต่อผู้หญิง และความลำเอียงทางเพศในการอนุมานสาเหตุ ผู้ร่วมการทดลองเป็นนักศึกษาเพศชายและเพศหญิงระดับปริญญาตรี จำนวน 240 คน ผู้วิจัยสุ่มผู้ร่วมการทดลองให้ดูภาพบุคคลเพศเดียวกันหรือเพศตรงข้าม ที่มีความดึงดูดใจทางกายภาพสูงหรือความดึงดูดใจทางกายภาพต่ำ 1 ภาพ และให้อ่านเรื่องราวบรรยายความสำเร็จของบุคคลในภาพนั้น จากนั้นผู้ร่วมการทดลองตอบแบบวัดการอนุมานสาเหตุ และมาตรวัดเจตคติต่อผู้หญิง ผลการวิจัยพบว่า 1. เพศชายอนุมานสาเหตุความสำเร็จของผู้ชายไปที่ปัจจัยภายในมากกว่าผู้หญิง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 และเพศหญิงอนุมานสาเหตุความสำเร็จของผู้ชายไปที่ปัจจัยภายในมากกว่าผู้หญิง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. บุคคลเพศเดียวกันที่มีความดึงดูดใจทางกายภาพต่ำ ได้รับการอนุมานสาเหตุความสำเร็จไปที่ปัจจัยภายในมากกว่าผู้ที่มีความดึงดูดใจทางกายภาพสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 3. บุคคลต่างเพศที่มีความดึงดูดใจทางกายภาพสูง ได้รับการอนุมานสาเหตุความสำเร็จไปที่ปัจจัยภายใน มากกว่าผู้ที่มีความดึงดูดใจทางกายภาพต่ำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 4. ผู้ที่มีคะแนนเจตคติต่อผู้หญิงสูงอนุมานสาเหตุความสำเร็จของผู้ชายไปที่ปัจจัยภายในไม่แตกต่างจากผู้หญิง ในขณะที่ผู้ที่มีคะแนนเจตคติต่อผู้หญิงต่ำ อนุมานสาเหตุความสำเร็จของผู้ชายไปที่ปัจจัยภายในมากกว่าผู้หญิง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5. เจตคติต่อผู้หญิงไม่มีสหสัมพันธ์กับการอนุมานสาเหตุความสำเร็จของผู้หญิงไปที่ปัจจัยภายใน 6. เจตคติต่อผู้หญิงไม่มีสหสัมพันธ์กับการอนุมานสาเหตุความสำเร็จของผู้ชายไปที่ปัจจัยภายใน 7. เพศหญิงมีคะแนนเจตคติต่อผู้หญิงสูงกว่าเพศชาย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeTo examine the relationships between gender, physical attractiveness, attitudes toward women, and sexual attribution bias. Participants were 240 undergraduate students of both genders. They were randomly assigned into 4 experimental conditions by being shown a photograph of either an attractive or unattractive and of the same sex or the opposite sex person. Then they were requested to read paragraphs describing a successful story of the man or woman in the photograph. Participants were asked to rate the person in the photograph on the attribution of success scale and to complete the Attitudes Toward Women Scale (AWS). The results are as follows: 1. Males attribute men’s success to internal causes more than women’s (p < .001), and females attribute men’s success to internal causes more than women’s (p < .05). 2. Unattractive same sex persons receive an internal attribution of success more than attractive same sex persons (p < .001). 3. Attractive opposite sex persons receive an internal attribution of success more than unattractive opposite sex persons (p < .001). 4. High AWS persons attribute men’s success to internal causes to the same extent as women’s success, but low AWS persons attribute men’s success to internal causes more than women’s success (p < .05). 5. Attitudes toward women does not correlate with the attribution of women’s success to internal causes. 6. Attitudes toward women does not correlate with the attribution of men’s success to internal causes. 7. Females score higher than males in attitudes toward women (p < .05).en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.1303-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความแตกต่างทางเพศen_US
dc.subjectการอนุมานสาเหตุ (จิตวิทยาสังคม)en_US
dc.subjectการดึงดูดใจระหว่างบุคคลen_US
dc.subjectSex differencesen_US
dc.subjectAttribution ‪(Social psychology)‬en_US
dc.subjectInterpersonal attractionen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างความลำเอียงทางเพศในการอนุมานสาเหตุและเจตคติต่อผู้หญิงen_US
dc.title.alternativeRelationship between the sexual attribution bias and attitudes toward womenen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจิตวิทยาสังคมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorjarungkul.b@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.1303-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
JulapaSilawech.pdf920.4 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.