Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59862
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวาทินี อมรไพศาลเลิศ-
dc.contributor.authorธนาภรณ์ เนียมกลั่น-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-09-14T05:22:56Z-
dc.date.available2018-09-14T05:22:56Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59862-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลจากการใช้โปรแกรมฝึกการกำกับอารมณ์ที่มีต่อความสามารถในการฟื้นพลังของนักเรียนระดับอาชีวศึกษา ตัวอย่างในการวิจัย คือ นักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย จำนวน 62 คน เครื่องมือในการวิจัย คือ โปรแกรมฝึกการกำกับอารมณ์ และแบบวัดความสามารถในการฟื้นพลัง วิเคราะห์ข้อมูลโดยค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) และทำการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระหว่างช่วงเวลาของการวัดประเมินความสามารถในการฟื้นพลัง โดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวแบบวัดซ้ำ (one-way repeated measures ANOVA) และสถิติทดสอบทีแบบอิสระ (Independent sample t – test) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) ภายหลังการทดลองและในระยะติดตามผลกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนความสามารถในการฟื้นพลังสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 และ 2) ภายหลังการทดลองและในระยะติดตามผลกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนความสามารถในการฟื้นพลังสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to investigate the effect of using the emotional regulation program on the resilience of vocational school students. The sample were students of the second year vocational certificate level academic year 2018 at Sukhothai Vocational College in Sukhothai. The research instruments included the emotional regulation program and a resilience questionnaire. One-way repeated measures ANOVA and Independent sample t – test were used to compare mean and standard deviation between the time series of resilience. The results were as follows: 1) The posttest and follow-up test resilience scores of the experimental group was higher than Pretest scores at .05 level of significant. 2) The posttest and follow-up test resilience scores of the experimental group was higher than the control group at .05 level of significant.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.818-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectความสามารถในการฟื้นพลังในวัยรุ่น-
dc.subjectความยืดหยุ่นทางอารมณ์และจิตใจ-
dc.subjectResilience (Personality trait) in adolescence-
dc.subjectResilence quotient-
dc.titleการเสริมสร้างความสามารถในการฟื้นพลังของนักเรียนระดับอาชีวศึกษาโดยใช้โปรแกรมฝึกการกำกับอารมณ์-
dc.title.alternativeENHANCING RESILIENCE OF VOCATIONAL SCHOOL STUDENTS USING THE EMOTIONAL REGULATION PROGRAM-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineจิตวิทยาการศึกษา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorwatinee.o@chula.ac.th,Watipe@gmail.com-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2017.818-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5983377527.pdf4.52 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.