Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61040
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชาญณรงค์ บาลมงคล-
dc.contributor.authorเกรียงไกร พัฒนภักดี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-12-07T06:19:30Z-
dc.date.available2018-12-07T06:19:30Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61040-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้นำเสนอการศึกษาความเสื่อมสภาพและการตรวจสอบสภาพของกับดักเสิร์จชนิดโลหะออกไซด์ในระบบจำหน่ายไฟฟ้าระดับแรงดัน 22 kV และ 33 kV ในการศึกษาได้รวบรวมข้อมูลการใช้งานและความเสียหายของกับดักเสิร์จโดยใช้แบบสอบถามและสุ่มเก็บตัวอย่างกับดักเสิร์จที่ใช้งานอยู่มาทดสอบประเมินสภาพโดยพิจารณาถึงสภาพแวดล้อมที่ติดตั้งและระยะเวลาการใช้งาน รวมทั้งเก็บตัวอย่างที่มีอุณหภูมิสูงผิดปกติและตัวอย่างที่มีการทำงานของตัวปลดวงจร การประเมินสภาพกับดักเสิร์จใช้การทดสอบแบบไม่ทำลาย เช่น การวัดค่าความต้านทาน กระแสรั่ว กำลังสูญเสีย และอุณหภูมิที่ผิว เป็นต้น ผลการทดสอบแสดงให้เห็นว่าอุปกรณ์ปลดวงจรมีความน่าเชื่อถือในการทำงานต่ำและไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างความเสื่อมสภาพกับสภาพแวดล้อมที่ติดตั้งและระยะเวลาใช้งานอย่างชัดเจน ปัญหาหลักของการเสื่อมสภาพของกับดักเสิร์จเกิดขึ้นจากความชื้นเข้าไปภายใน ทำให้กับดักเสิร์จมีความต้านทานต่ำ มีกระแสรั่วเชิงความต้านทานสูง และมีดีสชาร์จบางส่วนเกิดขึ้น แต่ความชื้นมีผลกระทบไม่มากนักต่อแรงดันอ้างอิงและแรงดันดีสชาร์จคงค้างผลการทดสอบสามารถกำหนดเกณฑ์สำหรับพิจารณาระดับความเสื่อมสภาพของกับดักเสิร์จจากการวัดค่าความต้านทานและอุณหภูมิที่ผิว สุดท้ายได้นำเสนอแนวทางปฏิบัติของการตรวจสอบสภาพกับดักเสิร์จในภาคสนามด้วยกล้องอินฟราเรดถ่ายภาพความร้อนen_US
dc.description.abstractalternativeThis thesis presents a study of degradations and diagnostics of metal oxide arresters in 22 kV and 33 kV distribution systems. Questionnaires were used for surveying arrester application and damage. The in-service arresters were sampled by considering environment and age. The overheated arresters and the arresters with operated disconnecting devices were also taken from fields. Several non-destructive tests were conducted for condition assessment of arrester samples, such as the measurement of resistance, leakage current, power losses and surface temperature. Test results implied that disconnecting device showed low reliability in operations. The relationship between degradation and environment or age was not obviously observed. Moisture ingress seemed to be a major cause of arrester degradation, resulting in low resistance, high resistive leakage current and partial discharge. But the moisture has less effect on reference voltage and residual voltage. Criteria for considering degradation level by measurement of resistance and temperature rise were proposed. Finally, practical guideline of infrared camera for field inspection was provided.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1614-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแรงดันไฟฟ้าเกินen_US
dc.subjectครื่องวัดไฟฟ้าen_US
dc.subjectElectric metersen_US
dc.subjectOvervoltageen_US
dc.titleการศึกษาความเสื่อมสภาพและการตรวจสอบสภาพกับดักเสิร์จชนิดโลหะออกไซด์ในระบบจำหน่ายไฟฟ้าen_US
dc.title.alternativeA study on degradations and diagnostics of metal oxide arresters in distribution systemsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorChannarong.B@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1614-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kriangkrai Pattanapakdee.pdf4.23 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.