Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61195
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิมพ์รำไพ เปรมสมิทธ์-
dc.contributor.authorกัลยา ตันจะโร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2019-02-07T07:29:20Z-
dc.date.available2019-02-07T07:29:20Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61195-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้สื่อสังคมเพื่อ การประชาสัมพันธ์ห้องสมุดมหาวิทยาลัย ในด้านวัตถุประสงค์ ประเภทของสื่อสังคม เนื้อหา การประเมินผล และปัญหาการใช้สื่อสังคมเพื่อการประชาสัมพันธ์ห้องสมุดมหาวิทยาลัย โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้รับผิดชอบหลักในการใช้สื่อสังคมเพื่อการประชาสัมพันธ์ห้องสมุดมหาวิทยาลัย จำนวน 72 แห่ง ได้รับแบบสอบถามกลับคืนมา จำนวน 70 ชุด (ร้อยละ 97.22) ผลการศึกษา พบว่า ห้องสมุดมหาวิทยาลัยจำนวนมากที่สุด มีวัตถุประสงค์ในการใช้สื่อสังคมเพื่อสื่อสารกับผู้ใช้บริการได้ทุกที่ ทุกเวลา บรรณารักษ์เป็นผู้รับผิดชอบหลักในการใช้ สื่อสังคมโดยใช้เฟซบุคในการประชาสัมพันธ์ ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้สื่อสังคม คือ ความง่ายของการใช้งาน เนื้อหาที่ใช้ในการประชาสัมพันธ์ห้องสมุด คือ การแนะนำบริการของห้องสมุด ในส่วนของการประเมินผลการใช้สื่อสังคม พบว่า ห้องสมุดมหาวิทยาลัยจำนวนมากที่สุด ไม่มี การประเมินผลการใช้สื่อสังคม ห้องสมุดมหาวิทยาลัยที่มีการประเมินผลการใช้สื่อสังคม ใช้แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้ใช้บริการจากการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของห้องสมุด และนำผล ที่ได้จากการประเมินมาใช้ปรับปรุงการดำเนินงานประชาสัมพันธ์ของห้องสมุด สำหรับปัญหา ด้านบุคลากรเป็นปัญหาที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดในการใช้สื่อสังคมเพื่อการประชาสัมพันธ์ห้องสมุดมหาวิทยาลัยen_US
dc.description.abstractalternativeThis survey research aims to investigate the use of social media for university library public relations, in terms of, social media types, public relations contents, evaluation and problems in using social media. Questionnaires were used for data collection from 72 persons responsible for using social media for public relations. Ninety seven questionnaires (97.22%) were returned. Research findings indicate that most of the university libraries use social media to communicate with users at any place and any time. The librarians are the responsible persons in using social media. Most libraries use Facebook for public relations. Factors affecting the selection of social media is ease of use. The majority of libraries use social media to introduce library services. Most of them do not evaluate social media use. The libraries that have evaluation process use questionnaires to collect data on users’ views related to library activities and the results of the evaluation are used to improve library public relations. Problem in using social media for public relation receiving highest mean score is the personnel-related issue.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.775-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectห้องสมุด -- การประชาสัมพันธ์en_US
dc.subjectห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา -- ไทยen_US
dc.subjectห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา -- การประชาสัมพันธ์en_US
dc.subjectสื่อสังคมออนไลน์en_US
dc.subjectLibraries -- Public relationsen_US
dc.subjectAcademic libraries -- Thailanden_US
dc.subjectAcademic libraries -- Public relationsen_US
dc.subjectSocial mediaen_US
dc.titleการใช้สื่อสังคมเพื่อการประชาสัมพันธ์ห้องสมุดมหาวิทยาลัยen_US
dc.title.alternativeThe use of social media for university library public relationsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPimrumpai.P@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.775-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kalaya Tanjaro.pdf1.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.