Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61961
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ลัญฉกร วุฒิสิทธิกุลกิจ | |
dc.contributor.advisor | อัจฉรา จันทร์ฉาย | |
dc.contributor.author | สุนิษา ชูดำ | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2019-05-27T06:30:41Z | |
dc.date.available | 2019-05-27T06:30:41Z | |
dc.date.issued | 2553 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61961 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2553 | en_US |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้นำเสนอการพัฒนานวัตกรรมการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารสำหรับการพัฒนาระบบติดตามรถโรงเรียนต้นแบบที่สามารถใช้งานได้จริงในเชิง พาณิชย์ โดยงานวิจัยนี้ได้ผนวกเทคโนโลยีทั้งระบบการสื่อสารเคลื่อนที่ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต และ ระบบการสื่อสารผ่านดาวเทียมเข้าด้วยกัน เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ที่เป็นประโยชน์โดยได้ ประยุกต์ตามแนวคิดของ Robert G. Cooper and Scott J. Edgett งานวิจัยนี้ประกอบด้วย 2 ส่วนหลัก ได้แก่ ส่วนที่หนึ่งเป็นการพัฒนาระบบซอฟต์แวร์ของ ระบบติดตามรถโรงเรียนซึ่งเป็นการนำ API ของ Google Map มาพัฒนาต่อยอดร่วมกับเทคโนโลยี จีพีเอสเพื่อเป็นการระบุตำแหน่งรถโรงเรียน อีกทั้งต้นแบบดังกล่าวยังได้มีการนำ SMS WAP Push และเวบไซต์มาประยุกต์เพื่อเป็นการเพิ่มช่องทางการใช้งานในการติดตามรถโรงเรียนดังกล่าวอีก ด้วย และในส่วนที่สองเป็นการสำรวจการยอมรับจากผู้บริโภคโดยในส่วนนี้ได้ใช้แนวคิดการยอมรับ เทคโนโลยี (Technology Acceptance Model : TAM) มาเป็นเครื่องมือในการสร้างกรอบแนวคิด ของงานวิจัย โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือโรงเรียนในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งผู้วิจัย ได้ใช้วิธีวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) ผสมกับวิธีวิจัยโดยการทดลอง (Experiment Research) และใช้การเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Depth Interview) และ แบบสอบถาม (Questionnaire) ทั้งปลายเปิด (Opened form) และปลายปิด (Closed form) | en_US |
dc.description.abstractalternative | This Thesis paper presents an innovation of applied Information and Communication Technology for developing a prototype of online commercial school bus tracking system applicable for commercial uses. This research work combines mobile communication technology, the Internet and satellite communication systems to develop a new product that is based on the ideas of Robert G. Cooper and Scott J. Edgett This research is consisted of two main parts. The first part deals with the development of a software system for school bus tracking system which brings API of Google Map to further develop along with the GPS technology in order to locate the position of a school bus. The prototype also employs SMS and website to add another way of tracking school bus. The second part is to survey the acceptance of consumers by using Technology Acceptance Model (TAM) as a main tool for creating this research framework. The samples are schools in Bangkok Metropolitan areas which the researcher uses Survey Research together with Experiment Research and collect information by Depth Interview and Questionnaire both openended and closed-ended. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก | |
dc.subject | เทคโนโลยีสารสนเทศ | |
dc.subject | โทรคมนาคม | |
dc.subject | Global Positioning System | |
dc.subject | Information technology | |
dc.subject | Telecommunication | |
dc.title | การประยุกต์ไอซีทีสำหรับระบบติดตามรถโรงเรียน | en_US |
dc.title.alternative | ICT technology application for school bus tracking system | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | ธุรกิจเทคโนโลยีและการจัดการนวัตกรรม (สหสาขาวิชา) | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Lunchakorn.W@Chula.ac.th | |
dc.email.advisor | Achara.C@Chula.ac.th | |
dc.email.author | ไม่มีข้อมูล | |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5187347720_2553.pdf | 3.06 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.