Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61962
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทิพภากร รังคสิริ
dc.contributor.advisorชัชวิทย์ อาภรณ์เทวัญ
dc.contributor.authorเนตรทราย สิทธิมงคล
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2019-05-27T06:50:52Z
dc.date.available2019-05-27T06:50:52Z
dc.date.issued2553
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61962
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาต้นแบบนวัตกรรมสื่อพหุสัมผัสสำหรับพิพิธภัณฑ์กลางแจ้งร่วมกับระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก โดยใช้เมืองโบราณเป็นกรณีศึกษา ซึ่งได้ศึกษาความต้องการและพฤติกรรมของกลุ่มนักท่องเที่ยวเป้าหมายจำนวน 400 คน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการออกแบบนวัตกรรมให้สอดคล้องกับความต้องการของนักท่องเที่ยว และประยุกต์ใช้แนวคิดด้านพหุสัมผัสเพื่อช่วยกระตุ้นการเรียนรู้ในพิพิธภัณฑ์ผ่านการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ไม่ว่าจะเป็นการมองเห็น การได้ยิน การสัมผัส การลิ้มรสและการดมกลิ่น ซึ่งทำให้เพิ่มการเรียนรู้ สร้างประสบการณ์ใหม่และความประทับใจให้กับนักท่องเที่ยวที่ยาวนานกว่าการใช้สื่อรูปแบบเดิม และผู้วิจัยได้ประยุกต์ใช้จีพีเอสเพื่อช่วยอำนวยความสะดวกในการเดินทางท่องเที่ยว ผู้วิจัยได้ทดลองต้นแบบกับนักท่องเที่ยวเพื่อประเมินความ พึงพอใจและประเมินการยอมรับจากผู้เชี่ยวชาญ ผลการประเมินจากนักท่องเที่ยวพบว่า พึงพอใจมากและผู้เชี่ยวชาญต่างยอมรับว่าเป็นนวัตกรรมใหม่สำหรับพิพิธภัณฑ์และแหล่งท่องเที่ยวของประเทศไทย นวัตกรรมนี้ไม่เพียงแต่สร้างรายได้ที่เป็นตัวเงิน ยังสร้างคุณค่าเรื่องการถ่ายทอดเรื่องราววัฒนธรรมและเอกลักษณ์ของความเป็นไทยให้กับนักท่องเที่ยว ส่วนเรื่องการประเมินด้านความคุ้มค่าในการขอใช้สิทธินวัตกรรมนี้ พบว่านวัตกรรมนี้ให้ผลตอบแทนในด้านบวกแทบทั้งสิ้น รวมถึงสร้างคุณประโยชน์ทางด้านสังคมและ สร้างคุณค่าให้กับการท่องเที่ยวในประเทศไทย ผู้วิจัยได้วางแผนแนวทางการพัฒนานวัตกรรมในอนาคต เพื่อสร้างนวัตกรรมที่ยั่งยืนต่อไปen_US
dc.description.abstractalternativeThis thesis aimed to develop a prototype of innovative multi-sensory media for outdoor museums combining global positioning system by using the Ancient City as a case study. Researcher studied the needs and behavior of 400 tourists as a guideline to design the innovation to satisfy their needs. Multi-sensory approach was applied to stimulate learning in museums through five senses comprising of sight, sound, touch, taste, and smell so that it would enhance learning, creating new and impressive experiences for tourists that last longer in memory than the traditional media. Researcher applied GPS to facilitate traveling. The prototype was experimented to evaluate the tourists’ satisfaction and experts’ acceptance. According to the finding, tourists are highly satisfied with the prototype and experts accept that it is innovation for Thai museums and tourism sites. Moreover, this innovation not only generates income, but also adds the value of portraying Thai culture and identity to tourists. The results from innovation valuation show positive gain with innovation licensing. It will also create benefits for society and value for tourism in Thailand. Finally, researcher plans the road map to improve innovation in future for sustainable innovation.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก
dc.subjectพิพิธภัณฑ์ศิลปะกลางแจ้ง
dc.subjectGlobal Positioning System
dc.subjectOpen-air museums
dc.titleนวัตกรรมสื่อพหุสัมผัสสำหรับพิพิธภัณฑ์กลางแจ้ง ร่วมกับระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก (จีพีเอส) : กรณีศึกษา เมืองโบราณ (ประเทศไทย)en_US
dc.title.alternativeInnovative multi-sensory media for outdoor museums combining global positioning system (GPS) : A case study of the Ancient City (Thailand))en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineธุรกิจเทคโนโลยีและการจัดการนวัตกรรม (สหสาขาวิชา)en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorTippakorn.R@Chula.ac.th,tippakorn@cbs.chula.ac.th
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5287191120_2553.pdf4.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.