Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62366
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พวงรัตน์ บุญญานุรักษ์ | - |
dc.contributor.author | วราพร หาญคุณะเศรษฐ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2019-07-08T03:13:09Z | - |
dc.date.available | 2019-07-08T03:13:09Z | - |
dc.date.issued | 2533 | - |
dc.identifier.isbn | 9745778451 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62366 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเวลาการพยาบาลที่บุคลากรพยาบาลใช้ในการพยาบาลผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน กับผลลัพธ์ของการพยาบาลและวิเคราะห์เวลาการพยาบาล ที่บุคลากรพยาบาลให้กับผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน และวิเคราะห์เวลาการพยาบาลในรูปแบบของการพยาบาลที่เกิดผลต่อผู้ป่วยโดยตรงและโดยอ้อม ตัวอย่างประชากรที่ศึกษาคือ ผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันที่เข้ารับการรักษาพยาบาลในหออภิบาลโรคหัวใจในช่วงเวลาวิกฤต 72 ชั่วโมงแรก สุ่มตัวอย่างประชากรโดยวีธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีการสังเกตโดยตรงอย่างต่อเนื่องจากการสังเกตทั้งหมด 21 ครั้ง เป็นเวลา 180 ชั่วโมง ด้วยแบบสังเกตและแบบวัดที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น คือ เกณฑ์การจัดประเภทผู้ป่วยตามระดับการเจ็บป่วย แบบบันทึกเวลากิจกรรมการพยาบาลและแบบประเมินผลลัพธ์ของการพยาบาลผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันที่ได้ผ่านกระบวนการทดสอบความตรงตามเนื้อหา และหาความเที่ยงของการสังเกตแล้วทั้งหมด ผลการวิจัยพบว่า 1. เวลาการพยาบาล และผลลัพธ์ของการพยาบาลมีความสัมพันธ์เชิงลบต่อกันแต่ไม่สามารถอธิบายได้ด้วยวิธีการทางสถิติ 2. พยาบาลวิชาชีพใช้เวลาโดยรวมเฉลี่ยต่อเวรในการพยาบาลผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันมากกว่าผู้ช่วยพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. พยาบาลวิชาชีพและผู้ช่วยพยาบาลใช้เวลาในการพยาบาลผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันไปในการปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลในรูปแบบของการพยาบาลที่เกิดผลต่อผู้ป่วยโดยตรงและโดยอ้อมแตกต่างกัน 4. ค่าเฉลี่ยจำนวนเวลาการพยาบาลโดยรวมของบุคลากรพยาบาล ที่ปฏิบัติต่อผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน แตกต่างกันเมื่อจำแนกตามระดับความรุนแรงของการเจ็บป่วย | - |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to study the relationships between nursing care time provided for acute myocardial infarct patients and nursing outcomes, to analyze nursing care time spended by nursing personnel for myocardial infarct patients, and to analyze direct and indirect nursing care productive time .The sample selected by purposive sampling method was acute myocardial infarct patients admitted in coronary care unit within 72 critical period hours. Data collecting taken by continuous direct observation method was 21 shifts or 180 hours. Instruments developed by the investigator were indicated by 1) Criteria to categorized the AM1 patient classes clinical severity of cardiogenic complications, 2) Nursing care productive time activities recording form and 3) Nursing outcomes evaluation checklist. Those instruments has gone through the process of content validation and reliability testing. The major findings were as follows: 1) There was negatively related between nursing care time and nursing outcomes but no statistically significant. 2) Mean score of nursing care time provided for myocardial infarct patients by professional nurses was higher than practical nurses’ nursing care time at .01 significant level. 3) Amount of direct and indirect care productive time provided for myocardial infarct patients were different as considering in each activities which professional nurses and practical nurses spended there time for. 4) Mean score of total nursing care time spended by nursing personnel for myocardial infarct patients was different when classified patients by levels of severity. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject | ความพอใจของผู้ป่วย -- ไทย | - |
dc.subject | ผู้ป่วย -- จิตวิทยา | - |
dc.subject | กล้ามเนื้อหัวใจตาย | - |
dc.subject | การพยาบาล -- ไทย | - |
dc.subject | Patient satisfaction -- Thailand | - |
dc.subject | Patients -- Psychology | - |
dc.subject | Myocardial infarction | - |
dc.subject | Nursing -- Thailand | - |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างเวลาที่บุคลากรพยาบาลใช้ ในการพยาบาลผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบ พลันกับผลลัพธ์ของการพยาบาลและความพึงพอใจของผู้ป่วย | - |
dc.title.alternative | Relationships between nursing care time used by nursing personnel on nursing care of acute myocardial infarct patients and nursing outcomes and patients' satisfaction | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | สุขศึกษา | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Waraporn_ha_front_p.pdf | 3.49 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Waraporn_ha_ch1_p.pdf | 7.39 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Waraporn_ha_ch2_p.pdf | 17.93 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Waraporn_ha_ch3_p.pdf | 7.22 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Waraporn_ha_ch4_p.pdf | 4.95 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Waraporn_ha_ch5_p.pdf | 10.05 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Waraporn_ha_back_p.pdf | 22.33 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.