Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62442
Title: การใช้ประโยชน์และความพึงพอใจจากการเปิดรับรายการข่าวทางโทรทัศน์ ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร
Other Titles: Uses and gratifications of television news among people in Bangkok metropolitan area
การเปิดรับรายการข่าวทางโทรทัศน์ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร
Authors: วิยดา เกียวกุล
Advisors: พัชนี เชยจรรยา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Subjects: ข่าวโทรทัศน์
รายการโทรทัศน์ -- ไทย
พฤติกรรมข่าวสาร
ผู้รับสาร
Television broadcasting of news
Television programs -- Thailand
Information behavior
Audiences
Issue Date: 2538
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปิดรับรายการข่าวทางโทรทัศน์และการใช้ประโยชน์และความพึงพอใจของประชาชนในกรุงเทพมหานคร โดยจำแนกตามลักษณะทางประชากรคือ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ รวมทั้งศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับรายการข่าวโทรทัศน์กับการใช้ประโยชน์และความพึงพอใจ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม กลุ่มตั้งอย่างที่ใช้ในการวิจัยมีจำนวน 360 คน โดยใช้วิธีเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่า T-test การวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA) และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. ประชาชนที่มี เพศ การศึกษา อาชีพ รายได้ต่างกันมีการเปิดรับรายการข่าวโทรทัศน์, การใช้ประโยชน์และความพึงพอใจแตกต่างกัน 2. ประชาชนที่มีอายุ ต่างกันมีการเปิดรับรายการข่าวโทรทัศน์, การใช้ประโยชน์และความพึงพอใจไม่แตกต่างกัน 3. การเปิดรับรายการข่าวโทรทัศน์ มีความสัมพันธ์กับการใช้ประโยชน์และความพึงพอใจ
Other Abstract: The purpose of this research were : (1) to investigate television news exposure, uses and gratifications of television news among people in Bangkok Metropolitan Area classified by demographics characteristics : sex, age, formal educational level, occupation and income level (2) to test the relationships among people’s television news exposure and their uses and gratification from viewing. Questionnaires were used to collect data. A total of 360 samples were selected using multi-stage sampling technique. Percentage mean, T-test, ANOVA and Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient were used to analyze the data. Results were as follows: 1. There were differences among people of different sexes, educational levels, occupations and income levels in terms of television news exposure and their uses and gratifications. 2. There were no differences among people of different age groups in terms of television new exposure and their uses and gratifications. 3. Television new exposure was correlated with uses and gratifications from TV viewing.
Description: วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538
Degree Name: นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: การประชาสัมพันธ์
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62442
ISBN: 9746313576
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wiyada_ki_front_p.pdf3.89 MBAdobe PDFView/Open
Wiyada_ki_ch1_p.pdf4.66 MBAdobe PDFView/Open
Wiyada_ki_ch2_p.pdf12.66 MBAdobe PDFView/Open
Wiyada_ki_ch3_p.pdf2.92 MBAdobe PDFView/Open
Wiyada_ki_ch4_p.pdf12.63 MBAdobe PDFView/Open
Wiyada_ki_ch5_p.pdf9.93 MBAdobe PDFView/Open
Wiyada_ki_back_p.pdf5.78 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.