Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62520
Title: | การใช้ทรัพยากรห้องสมุดของนักศึกษาวิทยาลัยพณิชยการ กรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ |
Other Titles: | Use of library resorces by students in commercial colleges Vocational Education Department Ministry of Education |
Authors: | ศันสนีย์ สุวรรณเจตต์ |
Advisors: | ชลทิชา สุทธินิรันดร์กุล |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Subjects: | วิทยาลัยพณิชยการธนบุรี. ห้องสมุด วิทยาลัยพณิชยการบางนา. ห้องสมุด วิทยาลัยพณิชยการเชตุพน. ห้องสมุด ทรัพยากรห้องสมุด -- การศึกษาการใช้ ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา -- ไทย -- การศึกษาการใช้ การศึกษาการใช้ห้องสมุด -- ไทย -- กรุงเทพฯ Library materials -- Use studies Academic libraries -- Thailand -- Use studies Library use studies -- Thailand -- Bangkok -- Use studies |
Issue Date: | 2532 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการใช้ทรัพยากรห้องสมุด ปัญหา ความต้องการ และความคิดเห็นของนักศึกษาวิทยาลัยพณิชยการ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ[ชั้น]สูง (ปวส.) สังกัดกรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ผลการวิจัยสรุปได้ว่า นักศึกษาวิทยาลัยพาณิชยการมีการเข้าใช้ห้องสมุดสูงสุด (ร้อยละ 92.56) มีการเข้าใช้ห้องสมุดไม่แน่นอน ในช่วงเวลาที่ไม่มีการเรียน วัตถุประสงค์ในการใช้ห้องสมุด คือ เพื่ออ่านหนังสือทั่วไป การค้นหาสิ่งพิมพ์ใช้วิธีเดินดูตามชั้นหนังสือ บริการที่นักศึกษาวิทยาลัยพาณิชยการใช้มากที่สุด คือ บริการการอ่าน และบริการการยืม ด้านการใช้ทรัพยากรห้องสมุด นักศึกษาทั้ง 2 ระดับ 4 สาขาวิชา: การบัญชี การขาย/การตลาด การเลขานุการ และคอมพิวเตอร์ธุรกิจ (เฉพาะระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง) มีการใช้ทรัพยากรห้องสมุดไม่แตกต่างกัน และสอดคล้องกับการเรียนการสอน ทรัพยากรห้องสมุดที่มีการใช้มากที่สุด คือ หนังสือพิมพ์ภาษาไทย ทรัพยากรที่มีการใช้น้อยที่สุด คือ หนังสืออ้างอิง และทรัพยากรที่ไม่มีการใช้ คือ โสตทัศนวัสดุ ด้านความเพียงพอของทรัพยากรห้องสมุด นักศึกษาวิทยาลัยพณิชยการทั้ง 2 ระดับ พบว่าทรัพยากรห้องสมุดส่วนใหญ่เพียงพอ นักศึกษาประสบปัญหาในการใช้ทรัพยากรประเภทต่างๆไม่แตกต่างกัน ปัญหาที่พบมากที่สุด หนังสือทั่วไป เล่มที่ต้องการไม่มีในห้องสมุด นอกจากนี้ นักศึกษาทั้ง 2 ระดับ มีความคิดเห็นและความต้องการในการใช้ทรัพยากรห้องสมุดไม่แตกต่างกันด้วย |
Other Abstract: | The purpose of this research were to study library resources used and problems, needs and opinions of commercial colleges students of two levels; the certificate and displomate levels of the Vocational Education Department, Ministry of Education. The research concluded that about 92.56 percent of the students used library during their free time. The major purpose was to read books in library. Services used most were reading room and circulation. Students of both levels used library resources at the same levels and their uses were relevant to their major studing in 4 subject areas: accounting, marketing, secretary and business computer (for the certificate level only). Thai newspaper were used most. Reference books were the least and audio visual materials were deprived of uses. In their opinions, library resources were adequate. The students faced the same problems. The major problem was the inavailability of the book they needed. Their opinions and demands in using library resources were similar between both levels. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532 |
Degree Name: | อักษรศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62520 |
ISBN: | 9745766313 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sansanee_su_front_p.pdf | 3.76 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sansanee_su_ch1_p.pdf | 3.74 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sansanee_su_ch2_p.pdf | 13.59 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sansanee_su_ch3_p.pdf | 1.53 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sansanee_su_ch4_p.pdf | 12.02 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sansanee_su_ch5_p.pdf | 6.43 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sansanee_su_back_p.pdf | 13.88 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.