Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64159
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศุภกานต์ พิมลธเรศ-
dc.contributor.advisorศศิภา พันธุวดีธร-
dc.contributor.authorศศิธร ฉลอง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-02-12T07:10:49Z-
dc.date.available2020-02-12T07:10:49Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64159-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561en_US
dc.description.abstractการรู้จำลายมือเขียนนั้นเป็นองค์ประกอบสำคัญในหลายระบบ ทั้งยังเป็นงานที่มีความท้าทายงานหนึ่งในงานด้านการรู้จำแบบรูป เนื่องจากตัวอักษรภาษาไทยมีความหลากหลายของรูปร่างและตำแหน่งการเขียนของตัวอักษรในขณะเดียวกันในบางตัวอักษรก็มีความคล้ายคลึงกันเป็นอย่างมากทำให้ยากต่อการจำแนกออกจากกันอย่างชัดเจน ในงานวิจัยนี้จึงนำเสนอวิธีการเรียนรู้เพื่อสร้างตัวแบบการจำแนกซึ่งสามารถปรับตัวให้เข้ากับลักษณะการเขียนของผู้ใช้เพียงคนเดียว จากตัวแบบการจำแนกจำนวน 3 ชนิด และคุณลักษณะของรูปร่าง พื้นผิว และทั้งสองอย่างนำมาประกอบกัน เพื่อออกแบบตัวแบบการจำแนกบนพื้นฐานของการเรียนรู้แบบปรับได้ที่เหมาะสมสำหรับแต่ละคน ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าวิธีการที่นำเสนอให้ผลดีมากกว่าวิธีการเรียนรู้แบบปรับไม่ได้ในแง่ของค่าความถูกต้องen_US
dc.description.abstractalternativeHandwriting recognition is an important part of several systems. In addition, it is one of the very challenging tasks in pattern recognition because Thai characters have a variance of shapes and writing positions. At the same time, some characters are very similar, so it is difficult to obviously discriminate these characters. This study proposes the learning method to generate a classification model which can adapt to the writing style of a single user. Three classification methods, shape, texture, and both features are combined to design a proper adaptive classification model based on adaptive learning method for an individual user. Experimental results show that the proposed method outperforms the non-adaptive learning method in terms of accuracy.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการรู้จำลายมือเขียนภาษาไทยโดยใช้วิธีการเรียนรู้แบบปรับได้สำหรับผู้ใช้เดี่ยวen_US
dc.title.alternativeThai handwriting recognition using adaptive learning method for single useren_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorSuphakant.P@Chula.ac.th-
dc.email.advisorSasipa.C@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sasithorn_C_Se_2561.pdf1.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.