Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6443
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจรุงกุล บูรพวงศ์-
dc.contributor.authorเสน่ห์สุดา แสนประสาน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2008-04-02T02:17:20Z-
dc.date.available2008-04-02T02:17:20Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741749813-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6443-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของบทบาทการเป็นผู้กระทำ ผู้สังเกต และผู้สังเกตที่สาม ต่อความแม่นยำในการรับรู้การประเมินของผู้อื่นต่อตนเองในเหตุการณ์ที่น่าอับอาย และเปรียบเทียบการรับรู้เหตุการณ์ที่น่าอับอายระหว่างคนที่มีลักษณะการกำกับการแสดงออกของตนสูงและต่ำในบทบาทต่างๆ ผู้ร่วมการทดลองเป็นนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยระดับปริญญาตรี จำนวน 185 คน การวิจัยเป็นแบบ 3 (บทบาทผู้กระทำ ผู้สังเกต และผู้สังเกตที่สาม ) x 2 (การกำกับการแสดงออกของตนสูงและต่ำ) โดยใช้เหตุการณ์ที่น่าอับอาย 2 เหตุการณ์ ผลการวิจัย 1. บุคคลที่มีการกำกับการแสดงออกของตนสูงที่จินตนาการว่ามีบทบาทผู้กระทำ มีคะแนนความประทับใจต่อเหตุการณ์ ในเหตุการณ์งานเลี้ยง น้อยกว่า ผู้ที่มีการกำกับการแสดงออกของตนต่ำ อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 แต่ไม่แตกต่างกัน ในเหตุการณ์ห้องสมุด และมีคะแนนการประเมินคุณลักษณะของผู้กระทำไม่แตกต่างกันในทั้ง 2 เหตุการณ์ 2. บุคคลที่จินตนาการว่ามีบทบาทผู้สังเกต ที่มีการกำกับการแสดงออกของตนสูงและต่ำมีคะแนนความประทับใจต่อเหตุการณ์และคะแนนการประเมินคุณลักษณะ ทั้ง 2 เหตุการณ์ไม่แตกต่างกัน 3. บุคคลที่จินตนาการว่ามีบทบาทผู้สังเกตที่สาม ที่มีการกำกับการแสดงออกของตนสูงและต่ำมีคะแนนความประทับใจต่อเหตุการณ์และคะแนนการประเมินคุณลักษณะ ทั้ง 2 เหตุการณ์ไม่แตกต่างกัน 4. บุคคลที่จินตนาการว่ามีบทบาทผู้กระทำ มีคะแนนความประทับใจต่อเหตุการณ์ห้องสมุด ต่ำกว่า ผู้ที่มีบทบาทผู้สังเกต อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05, เหตุการณ์งานเลี้ยง .001 และมีคะแนนการประเมินคุณลักษณะของผู้กระทำในเหตุการณ์ห้องสมุดต่ำกว่าที่ระดับนัยสำคัญ .05 แต่ไม่แตกต่างกันในคะแนนการประเมินคุณลักษณะของผู้กระทำในเหตุการณ์งานเลี้ยง 5. บุคคลที่จินตนาการว่ามีบทบาทผู้กระทำ กับ บทบาทผู้สังเกตที่สาม มีคะแนนความประทับใจต่อเหตุการณ์ และคะแนนการประเมินคุณลักษณะของผู้กระทำ ไม่แตกต่างกัน ทั้ง 2 เหตุการณ์ 6. บุคคลที่จินตนาการว่ามีบทบาทผู้สังเกต กับ ผู้สังเกตที่สาม มีคะแนนการประเมินคุณลักษณะของผู้กระทำในเหตุการณ์งานเลี้ยง ไม่แตกต่างกัน แต่มีคะแนนความประทับใจต่อเหตุการณ์ห้อง มากกว่าผู้ที่มีบทบาทผู้สังเกตที่สามมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 เหตุการณ์ณ์งานเลี้ยงที่ระดับ .05 และจากคะแนนการประเมินคุณลักษณะของผู้กระทำในเหตุการณ์ห้องสมุดที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to examine the influence of being in the role of an actor, an observer or a third observer on perception of embarrassing situations among high and low self- monitoring individuals. Participants were 185 Chulalongkorn University undergraduate students. Analyses were conducted as a 3 ( role: actor, observer, third observer) x 2 (high vs low self- monitoring) factorial design for 2 embarrassing situations. The results are as follows: 1. High self-monitoring actors score significantly lower than low self-monitoring actors on measures of impression in the empty-handed guest situation (p < .05), but they do not differ from each other in the activation of library alarm situation. High and low self-monitoring actors do not differ significantly from each other on measures of traits evaluation in both situations. 2. High and low self-monitoring observers do not differ significantly from each other on measures of impression and measures of traits evaluation in both situations. 3. High and low self-monitoring third observers do not differ significantly from each other on measures of impression and measures of traits evaluation in both situations. 4. Actors score significantly lower than observers on measures of impression in the activation of library alarm situation (p < .05) the empty-handed guest situation (p < .01) and on measures of traits evaluation in the activation of library alarm situation. (p < .001). Actors and observer do not differ significantly from each other on measures of traits evaluation in the empty-handed guest situations. 5. Actors and third observers do not differ significantly from each other on measures of impression and measures of traits evaluation in both situations. 6. Observer do not differ significantly from third observers on measures of traits evaluation in the empty-handed guest situations but score significantly higher than the third observer in the activation of library alarm situation. (p < .05). Observers score significantly higher than third observers on measures of impression in the activation of library alarm situation (p < .001) and the empty-handed guest situation (p < .05).en
dc.format.extent946506 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการแสดงออก (จิตวิทยา)en
dc.subjectการระบุสาเหตุen
dc.titleการกำกับการแสดงออกของตนและผลของการเชื่อว่าตนเป็นเป้าสายตาเกินจริงในการรับรู้เหตุการณ์ที่น่าอับอายen
dc.title.alternativeSelf-monitoring and the spotlight effect on perception of embarrassing situationsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาสังคมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorJarungkul.B@chula.ac.th-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Snehsuda.pdf924.32 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.