Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64449
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทัศน์ รัตนเกื้อกังวาน-
dc.contributor.authorภัทรวัต อุเบกขานนท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-03-26T05:39:10Z-
dc.date.available2020-03-26T05:39:10Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740313167-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64449-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ เพื่อศึกษาและเสนอแผนการบริหารคุณภาพในโรงงานเครื่องประดับ เพื่อให้สามารถวัด วิเคราะห์ ปรับปรุง และควบคุมคุณภาพในการผลิตเครื่องประดับเงินได้ โดยใช้โรงงานตัวอย่างซึ่งผลิตเครื่องประดับเงินเพื่อการส่งออกเป็นกรณีศึกษา จากการศึกษาแผนการบริหารคุณภาพของโรงงานตัวอย่างพบว่า มีข้อบกพร่องอยู่หลายประการ ได้แก่ เป้าหมายด้านคุณภาพไม่มีความชัดเจน รูปแบบโครงสร้างองค์กรยังไม่ชัดเจนและไม่มีการจัดทำรายละเอียดกำหนดหน้าที่งาน ขาดความชัดเจนในการจัดทำเป็นเอกสารของมาตรฐานวิธีการทำงาน และขาดสารสนเทศด้านคุณภาพ ซึ่งข้อบกพร่องต่าง ๆ เหล่านี้ส่งผลกระทบให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ได้แก่ ปัญหาด้านการบริหารจัดการ ปัญหาการเกิดของเสีย และปัญหาการส่งมอบไม่ทันตามที่กำหนด เป็นต้น จากข้อบกพร่องของแผนการบริหารคุณภาพดังกล่าว จึงได้เสนอแนวทางการปรับปรุงข้อบกพร่องของแผนใน 3 ด้าน ดังนี้ เสนอผังโครงสร้างองค์กรสำหรับการ บริหารคุณภาพและจัดทำรายละเอียดกำหนดหน้าที่งาน (Job Description) จัดทำแผนคุณภาพ (Quality Plan) สำหรับกระบวนการผลิตเครื่องประดับ คู่มือขั้นตอนการปฏิบัติงานและคู่มือวิธีการปฏิบัติงาน และจัดทำระบบการเก็บข้อมูลของเสีย จากผลการดำเนินการปรับปรุงข้อบกพร่องของแผนการบริหารคุณภาพพบว่า แผนการบริหารคุณภาพของโรงงานมีความชัดเจนมากขึ้นในหลาย ๆด้าน ได้แก่ การกำหนดเป้าหมายในการบริหารคุณภาพมีความชัดเจนมากขึ้น มีรูปแบบโครงสร้างการบริหารองค์กรที่ชัดเจนและมีประสิทธิภาพมากขึ้น และมีรายละเอียดกำหนดหน้าที่งาน (Job description) ในตำแหน่งต่าง ๆ อย่าง ชัดเจนเป็นลายลักษณ์อักษร มีมาตรฐานวิธีการทำงานต่าง ๆในรูปของเอกสารอย่างชัดเจน มีระบบการเก็บข้อมูลของเสียซึ่งช่วยให้ผู้บริหารมีข้อมูลในการประเมิน วิเคราะห์ ปรับปรุง และควบคุมคุณภาพได้ ซึ่งจะทำให้เกิดการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ และกระทำได้อย่างต่อเนื่องตามวงจร P-D-C-A ซึ่งจากกรณีศึกษาสามารถลดเปอร์เซ็นต์ของเสียในโรงหล่อจาก 5.49% เหลือเพียง 3.06%-
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study is to find out and recommend quality plan in jewelry factory in order to assess, analyze, improve and control quality in jewel production by using a sample factory that produces silver ornaments to export as a case study. According to the study, There are many inefficient issues in the factory. For example, the objective for quality management and the organization chart are unclear. Moreover, job description and work instruction are not obviously stated in written document and there is lack of information system in quality control process. All of these issues cause problems of management, defects and delayed delivery. Therefore, three major approaches are proposed to improve these inefficiencies Firstly, the organization chart and job description must be stated clearly for quality management. Secondly, there must be a quality plan for production process, work instruction and quality control manual. Finally, system for data collection must be available to manage the defects. After performing the above approaches, we found that the quality management plan in factory is much improved in many aspects, for example, the objective of quality plan and organization chart are identified much clearer and more efficient. In addition, the job description and standard work method are clearly written. Executives also have system available to collect data for the defects so as to enable them to assess, analyze, improve and control quality. By doing these, the problems can be resolved systematically and continuously as P-D-C-A cycle and the defects in casting process have been reduced from 5.49% to 3.06%.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2001.266-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการจัดการโรงงานen_US
dc.subjectคุณภาพผลิตภัณฑ์en_US
dc.subjectอุตสาหกรรมอัญมณีen_US
dc.subjectการควบคุมคุณภาพen_US
dc.subjectFactory managementen_US
dc.subjectQuality of productsen_US
dc.subjectJewelry tradeen_US
dc.subjectQuality controlen_US
dc.titleการศึกษาแผนการบริหารคุณภาพในโรงงานเครื่องประดับen_US
dc.title.alternativeA study on plan of quality management in jewelry factoryen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2001.266-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pattrawat_ub_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ817.16 kBAdobe PDFView/Open
Pattrawat_ub_ch1_p.pdfบทที่ 1873.4 kBAdobe PDFView/Open
Pattrawat_ub_ch2_p.pdfบทที่ 21.04 MBAdobe PDFView/Open
Pattrawat_ub_ch3_p.pdfบทที่ 31.09 MBAdobe PDFView/Open
Pattrawat_ub_ch4_p.pdfบทที่ 42.35 MBAdobe PDFView/Open
Pattrawat_ub_ch5_p.pdfบทที่ 5750.23 kBAdobe PDFView/Open
Pattrawat_ub_ch6_p.pdfบทที่ 6714.28 kBAdobe PDFView/Open
Pattrawat_ub_back_p.pdfรายการอ้างอิงและภาคผนวก4.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.