Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65292
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอิทธิ ตริสิริสัตยวงศ์-
dc.contributor.authorชัชชัย เดชเกตุ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-04-12T13:54:26Z-
dc.date.available2020-04-12T13:54:26Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn97416834-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65292-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en_US
dc.description.abstractเป็นที่ทราบกันดีว่าในทางทฤษฎีแล้ว การจำแนกภาพดาวเทียมด้วยวิธีความคล้ายคลึงมากที่สุด ซึ่งอาศัย Baye’s Decision Rule เป็นวิธีการที่ให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องดีที่สุดหาก Spectral Signature ของวัตถุที่สนใจแต่ละประเภทมีลักษณะเป็นเส้นโค้งปกติที่เป็นรูประฆังคว่ำสมมาตรข้อจำกัดของวิธีความคล้ายคลึงมากที่สุด คือโดยทั่วไป Spectral Signature ของวัตถุหริอพื้นที่ที่ สนใจแต่ละชนิดมักจะไม่เป็นเส้นโค้งปกติ ทำให้ผลลัพธ์ที่ได้จากวิธีความคล้ายคลึงมากที่สุด ไม่ใช่ผลลัพธ์ที่ดีที่สุดอีกต่อไป การจำแนกภาพดาวเทียมด้วยวิธีโครงข่ายใยประสาทเทียม มีข้อเด่นที่ไม่อ้างอิงกับสมมติฐานใด ๆ ที่เกี่ยวกับการกระจายตัวของค่าความสว่างของจุดภาพทำให้โดยหลักการแล้ววิธีโครงข่ายใยประสาทเทียมสามารถให้ผลลัพธ์ที่เหนือกว่าหรือเทียบเท่าวิธีความ คล้ายคลึงมากที่สุด หากประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม งานวิจัยนี้เป็นการจำแนกภาพดาวเทียม LANDSAT 5TM ของพื้นที่ชายฝังระยองและจันทบุรีซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีลักษณะการใช้ที่ดินหลากหลาย เพื่อเปรียบเทียบความถูกต้องที่ได้จากผลการจำแนกโดยวิธีการทั้งสอง ความถูกต้องของจำแนกภาพที่ได้จาก Confusion Matrix ของทั้งสองวิธีแสดงให้เห็นว่าการจำแนกด้วยวิธีโครงข่ายใยประสาทเทียมแบบ Error Back Propagation ให้ความถูกต้องที่ดีกว่าวิธีความคล้ายคลึงมากที่สุด สำหรับการใช้ที่ดินทุกประเภท โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่การใช้ที่ดินชนิดใดชนิดหนึ่งมีค่า Separability ตํ่าเมื่อเทียบกับการใช้ที่ดินอีกประเภทหนึ่ง วิธีความคล้ายคลึงมากที่สุดให้ผลการจำแนกที่ด้อยกว่าวิธีโครงข่ายในประสาทเทียมเป็นอย่างมาก และจากค่า Skewness ที่ได้จากผลการวิจัยชี้ให้เห็นถึงข้อมูลส่วนใหญ่ที่มีลักษณะการกระจายตัวไม่เป็นแบบเส้นโค้งปรกติ จึงทำให้วิธีโครงข่ายใยประสาทเทียมเป็นอีกทางเลือกที่มีความเหมาะสมในการจำแนกภาพดาวเทียมที่มีค่า Spectral Signature ไม่เป็นไปตามสมมติฐานของเส้นโค้งปรกติ ถึงแม้จะต้องอาศัยขันตอนการจำแนกทีมีความยุ่งยากกว่า-
dc.description.abstractalternativeTheoretically, maximum likelihood classification by Baye’s Decision yields optimum result if spectral signatures of interested objects are normally distributed. However, this assumption is not always hold and consequently the results from maximum likelihood classification in such cases are no longer optimum. The technique of artificial neural network classification is not based on any assumption regarding DN distribution, thus better or at least the same accuracy could be achieved if the technique is suitably applied. This study classifies a LANDSAT 5 TM imagery covering the coastline of Chantaburi and Rayong provinces. There are many types of landuse within the study area, which can be used to compare the accuracy of classification by these two methods. Spectral signature of each landuse has a varied skewness. The confusion matrices show that the results from error back propagation neural network are more accurate than those from maximum likelihood for all landuse types, particularly in the case when two landuse types have low separability. The study outcome demonstrates the limitation of maximum likelihood technique. Even through artificial neural network classification is more complicated but is an attractive alternative if the assumption of normal distribution is not met.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการวิเคราะห์ข้อมูลภาพระยะไกลen_US
dc.subjectการวิเคราะห์ข้อมูลระยะไกลen_US
dc.subjectนิวรัลเน็ตเวิร์ค (วิทยาการคอมพิวเตอร์)en_US
dc.subjectภาพถ่ายทางอากาศen_US
dc.subjectแบคพรอพาเกชัน (ปัญญาประดิษฐ์)en_US
dc.subjectRemote-sensing imagesen_US
dc.subjectRemote sensingen_US
dc.subjectNeural networks ‪(Computer sciences)‬en_US
dc.subjectAerial photographsen_US
dc.subjectBack propagation ‪(Artificial intelligence)‬en_US
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบวิธีการจำแนกภาพดาวเทียม โดยใช้วิธีการแพร่กลับความคลาดเคลื่อน ในโครงข่ายใยประสาทเทียมกับวิธีความคล้ายคลึงมากที่สุดen_US
dc.title.alternativeComparative study of error back propagation neural network and maximum likelihood method for satellite image classificationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสำรวจen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorItthi.T@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chatchai_de_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อและสารบัญ828.56 kBAdobe PDFView/Open
Chatchai_de_ch1_p.pdfบทที่ 1838.52 kBAdobe PDFView/Open
Chatchai_de_ch2_p.pdfบทที่ 21.31 MBAdobe PDFView/Open
Chatchai_de_ch3_p.pdfบทที่ 31.19 MBAdobe PDFView/Open
Chatchai_de_ch4_p.pdfบทที่ 41.53 MBAdobe PDFView/Open
Chatchai_de_ch5_p.pdfบทที่ 5667.79 kBAdobe PDFView/Open
Chatchai_de_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก1.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.