Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65442
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิชัยศักดิ์ หรยางกูร-
dc.contributor.authorปาลีรัฐ ศรีวรรณพฤกษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-04-22T07:16:15Z-
dc.date.available2020-04-22T07:16:15Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741729758-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65442-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en_US
dc.description.abstractการรวมตัวของบุคคลโดยมีจุดประสงค์ในการหากำไรมาแบ่งปันในระหว่างผู้ลงทุนในรูปแบบของบริษัทมหาชนส่งผลทำให้ผู้ลงทุนมีฐานะเป็นผู้ถือหุ้น อันถือเป็นเจ้าของกิจการไม่ว่าผู้ลงทุนดังกล่าวจะเข้ามาถือหุ้นด้วยจุดประสงค์การเก็งกำไรจากการขายหุ้นหรือการได้รับผลประโยชน์ในลักษณะเงินปันผลก็ตาม ผู้ลงทุนดังกล่าวก็อยู่ในฐานะผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิตามที่กฎหมาย กำหนด รวมทั้งเป็นบุคคลที่กฎหมายต้องคุ้มครอง วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้แบ่งการคุ้มครองที่ผู้ถือหุ้นได้รับออกเป็น 3 ประการคือ 1. การคุ้มครองสิทธิตามกฎหมายที่มีอยู่ในปัจจุบัน 2. การคุ้มครองตามพื้นฐานแห่งสิทธิของผู้ถือหุ้น และ 3.การคุ้มครองตามโครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างกรรมการและผู้ถือหุ้นตามกฎหมายบริษัท จากการวิจัยการคุ้มครองทั้ง 3 ประการพบว่า ตามกฎหมายที่มีอยู่ผู้ถือหุ้นได้รับการคุ้มครองค่อนข้างมากและเพียงพอแล้วในเรื่องต่าง ๆ เช่น การจัดการบริหารบริษัท การออกเสียงลงคะแนน เป็นต้น รวมทั้งบทบัญญัติของกฎหมายที่กำหนดให้กรรมการบริษัทบริหารงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและความระมัดระวังแต่นอกจากกฎหมายที่มีอยู่แล้ว ปัจจุบันยังมีการนำหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี ซึ่งมีบทบาทเป็นเพียงกฎหรือแนวปฏิบัติมาใช้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการบริหารงานมากยิ่งขึ้นด้วย และเนื่องจากวิวัฒนาการของบริษัทในประเทศไทยพัฒนามาจากรูปแบบของบริษัทครอบครัว ต่างจากบริษัทในต่างประเทศที่มีการกระจายหุ้นอย่างชัดเจนทำให้ไม่มีปัญหาในเรื่องการเป็นผู้ถือหุ้นข้างมากและผู้ถือหุ้นข้างน้อยดังเช่นที่ปรากฏในกฎหมายไทยดังนั้น นอกเหนือไปจากข้อเสนอแนะที่ให้การปฏิบัติตามกฎหมายที่มีอยู่มีสภาพบังคับอย่างแท้จริงและเสนอแนวทางการปรับปรุงแก้ไขบทบัญญัติในบางเรื่องให้เอื้อต่อการคุ้มครอง ผู้ถือหุ้นข้างน้อยมากยิ่งขึ้นแล้ว การกระจายหุ้นอย่างแท้จริงในบริษัทมหาชนยังมีผลทำให้ผู้ถือหุ้นข้างน้อยได้รับการคุ้มครองมากขึ้นไปอีกประการหนึ่งด้วย-
dc.description.abstractalternativeWhen people unite, in the form of a public company, for the purpose of profit sharing, each member is called a shareholder. From a legal perspective, shareholders are recognised as the real owners of such a company. The law is not concerned as to what is the real purpose of each shareholder. As a shareholder, he/she is entitled to be protected under the law equal to other shareholders. This thesis discusses three methods regarding the protection of the shareholder’s rights and interests, namely: 1. Shareholder protection under existing law; 2. Shareholder protection under the fundamental right of the shareholder; and 3. Shareholder protection as a result of the relationship between directors and shareholders. Following research and study, it can be concluded that existing law provides sufficient protective methods, for example, company management, voting rights and etc. The existing law also provides that directors shall manage and operate the company’s business in good faith with due care and attention. In addition, the concept of good governance also applies to protect shareholders. Thai corporation law has evolved from the concept of the family company. This concept differ from the concept behind corporate law on other countries. Public company law in other countries focuses on the offering of a larger proportion of shares to the public so that these countries have less problems with minority shareholder protection than in Thailand. In conclusion, existing law must be strictly enforced and the existing law should be amended as suggested in this thesis. In addition, the offering of a larger proportion of shares to the public should be considered.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectบริษัทมหาชนen_US
dc.subjectบริษัทมหาชน -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับen_US
dc.subjectกฎหมายบริษัทen_US
dc.subjectผู้ถือหุ้นen_US
dc.subjectผู้ถือหุ้นข้างน้อยen_US
dc.subjectPublic companies -- Law and legislationen_US
dc.subjectCorporation lawen_US
dc.subjectStockholdersen_US
dc.subjectMinority stockholdersen_US
dc.titleการคุ้มครองผู้ถือหุ้นข้างน้อยตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชน (ใหม่)en_US
dc.title.alternativeProtection of minority shareholder in Public company Act (revised)en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPhijaisakdi.H@chula.ac.th-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Paleerat_sr_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ775.77 kBAdobe PDFView/Open
Paleerat_sr_ch1_p.pdfบทที่ 1727.95 kBAdobe PDFView/Open
Paleerat_sr_ch2_p.pdfบทที่ 2973.29 kBAdobe PDFView/Open
Paleerat_sr_ch3_p.pdfบทที่ 31.09 MBAdobe PDFView/Open
Paleerat_sr_ch4_p.pdfบทที่ 44.13 MBAdobe PDFView/Open
Paleerat_sr_ch5_p.pdfบทที่ 51.04 MBAdobe PDFView/Open
Paleerat_sr_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก725.76 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.