Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65459
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชมพูนุช โสภาจารีย์-
dc.contributor.authorนันทนา ดำเนินยุทธ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-04-22T08:32:25Z-
dc.date.available2020-04-22T08:32:25Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741721331-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65459-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศการสื่อสารในองค์การ จิตวิญญาณในงาน กับการสร้างสรรค์ในองค์การพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์ กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการในหอผู้ป่วยใน ได้จากการสุ่มแบบแบ่งหลายขั้นตอนจำนวน 385 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย 3 ส่วนได้แก่ แบบสอบถามบรรยากาศการสื่อสารในองค์การ แบบสอบถามจิตวิญญาณในงาน และแบบสอบถามการสร้างสรรค์ในองค์การพยาบาล ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิและวิเคราะห์ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค มีค่าความเที่ยง .93, .90 และ .92 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าสัมประสิทธิ์"สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. ค่าคะแนนเฉลี่ยของการสร้างสรรค์โนองค์การพยาบาล ตามการรับของพยาบาลวิชาชีพโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (X_ = 3.40, S.D. = 0.42) 2. บรรยากาศการสื่อสารในองค์การมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับการสร้างสรรค์ในองค์การพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r= .73 P < .01) จิตวิญญาณในงานมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับการสร้างสรรค์ในองค์การพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .69 P < .01) ผลงานวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า บรรยากาศการสื่อสารในองค์การ และจิตวิญญาณในงานมีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์ในองค์การพยาบาล และผลการวิจัยครั้งนี้สามารถใช้เป็นแนวทางประกอบการบริหารงานของผู้บริหารการพยาบาลในองค์การพยาบาลต่อไป-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to examine the relationships between organizational communication climate, spirituality at work, and nursing organizational creativity as perceived by professional nurses, regional hospital and medical centers. The subjects were 385 professional nurses working in inpatient department who were selected by multi - stage sampling technique. Three research instruments including organizational communication climate, spirituality at work, and nursing organizational creativity questionnaires. The instruments were content validated and tested for reliability from which the Cronbach's alpha were .93, .90 and .92, respectively. Statistical techniques used were percentage, mean, standard deviation, and Pearson's product moment correlation. Major findings were as follows: 1. The mean score of nursing organizational creativity as perceived by professional nurses was at the moderate level, (X_ = 3.40, S.D.= 0.42) 2. Organizational communication climate was strongly positively related to nursing organizational creativity (r = .73 p < .01). In addition, spirituality at work was moderately positively associated with nursing organizational creativity (r = .69 p < .01). The results from this study indicate that the important of organizational communication climate and spirituality at work to organizational creativity. It can also used as guideline for administration in nursing organization.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการสื่อสารในองค์การen_US
dc.subjectการสื่อสารทางการพยาบาลen_US
dc.subjectจิตวิญญาณen_US
dc.subjectจิตสำนึก -- แง่จิตวิทยาen_US
dc.subjectCommunication in organizationsen_US
dc.subjectCommunication in nursingen_US
dc.subjectSpiriten_US
dc.subjectConsciousness -- Psychological aspectsen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศการสื่อสารในองค์การ จิตวิญญาณในงานกับการสร้างสรรค์ในองค์การพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลศูนย์en_US
dc.title.alternativeRelationships between organizational communication climate, spirituality at work, and nursing organizational creativity as perceived by professional nurses, regional hospital and medical centersen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการบริหารการพยาบาลen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorChompunut.S@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nantana_du_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ785.46 kBAdobe PDFView/Open
Nantana_du_ch1_p.pdfบทที่ 11.13 MBAdobe PDFView/Open
Nantana_du_ch2_p.pdfบทที่ 21.95 MBAdobe PDFView/Open
Nantana_du_ch3_p.pdfบทที่ 3927.04 kBAdobe PDFView/Open
Nantana_du_ch4_p.pdfบทที่ 4794.82 kBAdobe PDFView/Open
Nantana_du_ch5_p.pdfบทที่ 51.13 MBAdobe PDFView/Open
Nantana_du_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก1.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.