Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65721
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์-
dc.contributor.advisorสุริชัย หวันแก้ว-
dc.contributor.authorจุรีพร กาญจนการุณ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.coverage.spatialบางขุนเทียน (กรุงเทพฯ)-
dc.date.accessioned2020-05-10T18:03:26Z-
dc.date.available2020-05-10T18:03:26Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.issn9741739419-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65721-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) นำเสนอและจำแนกประเภทแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตในชุมชนเขตบางขุนเทียน 2) ศึกษาการรับรู้ถึงคุณค่า และการใช้ประโยชน์แหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตในชุมชนเขตบางขุนเทียน 3) นำเสนแนวทางการพัฒนาและการใช้ประโยชน์แหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตในชุมชน เขตบางขุนเทียน วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเอกสาร การสำรวจ และการวิจัย อนาคตด้วยเทคนิค EDFR ผลการวิจัยพบว่า แหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตในชุมชนเขตบางขุนเทียนที่กลุ่มตัวอย่างรู้จักและยอมรับ ร้อยละ 10 ขึ้นไป มี 22 แหล่ง จำแนกได้เป็นแหล่งการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ 1 แหล่ง และแหล่งการเรียนรู้ที่มนุษย์สร้าง1ขึ้น 21 แหล่ง นอกจากนั้นมีแหล่งการเรียนรู้ซึ่งได้รับการเสนอแนะเพิ่มเติมโดยเป็นแหล่งที่มนุษย์สร้างขึ้นอีก 2 แหล่ง กลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้คุณค่าของแหล่งการเรียนรู้แต่ละแหล่งที่มีต่อตัวเอง และต่อชุมชนแตกต่างกันอย่างหลากหลาย ป่าชายเลนเป็นแหล่งการเรียนรู้ที่ชาวชุมชนรู้จักและรับรู้มากที่สุดว่ามีความสำคัญมีคุณค่าต่อตนเองและต่อชุมชนในระดับสูง เป็นแหล่งการเรียนรู้ที่ชาวชุมชนเห็นประโยชน์มากที่สุด และเห็นว่าเป็นแหล่ง การเรียนรู้ที่ควรนำมาพัฒนาให้มีการใช้ประโยชน์อย่างเต็มศักยภาพ แนวทางการใช้ประโยชน์ป่าชายเลนบางขุนเทียนในอนาคตเป็นแนวทางที่ควรต้องพิจารณาทังด้านเศรษฐกิจ การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ แหล่งศึกษาเชิงนิเวศวิทยา และสภาพความเป็นอยู่วิถีชีวิตชุมชน ฯลฯ ส่วนแนวทางการพัฒนาป่าชายเลนบางขุนเทียนต้องเน้นผสมผสานการอนุรักษ์ฟื้นฟูป่าชายเลน ความต้องการและ ความเจริญความทันสมัยของชุมชนเข้าด้วยกัน โดยต้องใช้การมีส่วนร่วมและอาศัยความร่วมมือจากชุมชนทุกขั้นตอน-
dc.description.abstractalternativeThe aims of the study were 1) to present and classify community resources for lifelong learning in Bangkhuntian district 2) to study the awareness of the value and utilization of community resources for lifelong learning in Bangkhuntian district and 3) to propose guidelines for the development and utilization of community resources for lifelong learning in Bangkhuntian district. The study was a combination of documentary, survey and future research; in particular, Ethnographic Delphi Futures Research. (EDFR) The research findings reveal that 22 community resources for lifelong learning in Bangkhuntian district were known and accepted by over 10% of the sampled community members. The resources can be divided into two groups : natural setting group (1 resource) ,and man-made setting group (21 resources). In addition to these resources, two extra man-made setting resources were suggested. From a questionaire, the community members have different perceptions of the importance of each learning resource for themselves and their community. The Bangkhuntian mangrove forest is seen as the most valuable learning resource known by most community members. Apart from being the most useful learning resource, the sample group considered the Bangkhuntian mangrove forest as the resource that should be developed for full potential utility. From EDFR, the guidelines for the utilization of the Bangkhuntian mangrove forest in the future should include economics, eco-tourism, ecosystem 1 and com m unity’s way of life. The guidelines for the development of the Bangkhuntian mangrove forest focus on the integration of community needs, modernization and mangrove conservation. In each step of development, cooperation and participation of community members are required.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการศึกษาต่อเนื่องen_US
dc.subjectการเรียนรู้en_US
dc.subjectบางขุนเทียน (กรุงเทพฯ)en_US
dc.subjectContinuing educationen_US
dc.subjectLearningen_US
dc.subjectBangkhuntian (Bangkok)en_US
dc.titleการนำเสนอแนวทางการพัฒนาและการใช้ประโยชน์แหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ในชุมชนเขตบางขุนเทียนen_US
dc.title.alternativeProposed guidelines for the development and utilization of community resources for lifelong learning in Bangkhuntian districten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineพัฒนศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPruet.S@Chula.ac.th-
dc.email.advisorSurichai.W@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jureeporn_ka_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ848.12 kBAdobe PDFView/Open
Jureeporn_ka_ch1_p.pdfบทที่ 1920.72 kBAdobe PDFView/Open
Jureeporn_ka_ch2_p.pdfบทที่ 23 MBAdobe PDFView/Open
Jureeporn_ka_ch3_p.pdfบทที่ 3888.34 kBAdobe PDFView/Open
Jureeporn_ka_ch4_p.pdfบทที่ 4784.43 kBAdobe PDFView/Open
Jureeporn_ka_ch5_p.pdfบทที่ 51.49 MBAdobe PDFView/Open
Jureeporn_ka_ch6_p.pdfบทที่ 61.69 MBAdobe PDFView/Open
Jureeporn_ka_ch7_p.pdfบทที่ 72.18 MBAdobe PDFView/Open
Jureeporn_ka_ch8_p.pdfบทที่ 81.83 MBAdobe PDFView/Open
Jureeporn_ka_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก8.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.