Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66102
Title: การดัดแปลงซิลิกาด้วยของเหลวไอออนิกสำหรับการสกัดไอออนของโลหะหายาก
Other Titles: Ionic liquid-based modified silica for rare earth ion extraction
Authors: วรพจน์ ฟักเพ็ชร
Advisors: เสาวรักษ์ เฟื่องสวัสดิ์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
Advisor's Email: Saowarux.F@Chula.ac.th
Subjects: ซิลิกา
Silica
Issue Date: 2560
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: งานวิจัยนี้เป็นการเตรียมตัวดูดซับ Si-IL เพื่อใช้สกัดไอออนของธาตุโลหะหายาก โดยการดัดแปลงพื้นผิวของอนุภาคซิลิกาด้วยของเหลวไอออนิก 1-บิวทิล-3-เมทิลอิมิดาโซเลียมเฮกซะฟลูออโรฟอสเฟต ([bmim][PF₆]) วิเคราะห์ลักษณะเฉพาะของตัวดูดซับ Si-IL ที่เตรียมได้ด้วยเทคนิค ¹H-NMR และ FTIR พบว่าวิธีการสังเคราะห์ตัวดูดซับที่เหมาะสมคือการต่อของเหลวไอออนิก [bmim][Cl] เข้าไปยังซิลิกาก่อน แล้วทาการแลกเปลี่ยนคลอไรด์ไอออนให้เป็นเฮกซะฟลูออโรฟอสเฟต จากนั้นศึกษาการสกัดของตัวดูดซับที่ได้โดยใช้การสกัดแบบแบทช์ ตรวจวัดปริมาณไอออนของธาตุโลหะหายากด้วยเทคนิค UV-Vis spectrophotometry ผลการทดลองพบว่า Si-IL สามารถสกัดไอออนของโลหะหายาก 3 ชนิด ได้แก่ ซีเรียม แลนทานัม และนีโอไดเมียม โดยมีเปอร์เซ็นต์การสกัดสูงมากกว่า 97 เปอร์เซ็นต์ และมีค่าสัมประสิทธิการกระจายตัวในช่วง 27,174 – 50,907 mL/g ซึ่งเป็นค่าที่สูงมาก แสดงให้ว่ามีโอกาสในการนาตัวดูดซับ Si-IL ที่เตรียมได้ไปใช้แยกไอออนแลนทาไนด์ในสารตัวอย่างจริงต่อไป
Other Abstract: Silica-based adsorbent for rare earth ion extraction was developed by grafting 1-(silylpropyl)-3-methylimidazolium hexafluorophosphate ([spmim][PF6]) ionic liquid onto the surface of silica particles. Characterization of the obtained silica-ionic liquid (Si-IL) material was realized by ¹H-NMR and FT-IR. The suitable synthetic method was obtained via attachment of [spmim][Cl] ionic liquid first, followed by anion exchange from chloride to hexafluorophosphate. Liquid-solid extraction was then performed using batch extraction and the concentration of rare earth ions was determined by UV-Vis spectrophotometry. The results showed that the Si-IL adsorbent exhibited outstanding extraction performance towards Ce³⁺, La³⁺, and Nd³⁺ with %E higher than 97%. The distribution coefficients achieved in the range of 27,174 – 50,907 mL/g were impressively elevated suggesting a potential application of the developed Si-IL to extract lanthanide ions from real samples.
Description: โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66102
Type: Senior Project
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Worapoj Ph_SE_2560.pdf2.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.