Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66486
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสกสรร เกียรติสุไพบูลย์-
dc.contributor.authorโสภณ บัญชาบุษบง-
dc.date.accessioned2020-06-18T09:32:58Z-
dc.date.available2020-06-18T09:32:58Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9745317349-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66486-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สต.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ เป็นการศึกษาในเชิงทฤษฎีเกี่ยวกับระบบแถวคอย เมื่อลูกค้าที่ได้รับบริการ มีความต้องการใช้บริการซ้ำ โดยอาศัยการจำลองตัวแบบแถวคอยในธุรกิจร้านอาหาร เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพการให้บริการ ของนโยบายการให้บริการซ้ำที่แตกต่างกัน ระหว่างนโยบายการให้บริการแบบไม่กำหนดความสำคัญการให้บริการก่อน และนโยบายการให้บริการแบบกำหนดความสำคัญการให้บริการก่อน โดยมีเกณฑ์ที่ใช้ในการเปรียบเทียบ คือ เวลาคอยเฉลี่ยในร้านอาหารต่อลูกค้าที่เข้ามารับบริการแต่ละคน ซึ่งผลการศึกษาวิจัยเป็นดังนี้ 1. นโยบายการให้บริการแบบไม่กำหนดความสำคัญการให้บริการก่อน จะมีประสิทธิภาพการให้บริการ น้อยกว่านโยบายการให้บริการแบบกำหนดความสำคัญการให้บริการก่อน เมื่ออัตราการเข้ามารับบริการโดยเฉลี่ย น้อยกว่าอัตราการให้บริการโดยเฉลี่ยไม่มากนัก 2. นโยบายการให้บริการแบบไม่กำหนดความสำคัญการให้บริการก่อน จะมีประสิทธิภาพการให้บริการ ไม่แตกต่างกับนโยบายการให้บริการแบบกำหนดความสำคัญการให้บริการก่อน เมื่ออัตราการเข้ามารับบริการโดยเฉลี่ย น้อยกว่าอัตราการให้บริการโดยเฉลี่ยค่อนข้างมาก 3. นโยบายการให้บริการแบบไม่กำหนดความสำคัญการให้บริการก่อน จะมีประสิทธิภาพการให้บริการ ไม่แตกต่างกับนโยบายการให้บริการแบบกำหนดความสำคัญการให้บริการก่อน เมื่ออัตราการเข้ามารับบริการโดยเฉลี่ย มากกว่าอัตราการให้บริการโดยเฉลี่ย ในกรณีที่แถวคอยสามารถรับลูกค้าได้จำกัด และลูกค้าจะออกจากระบบโดยไม่ได้รับบริการ เมื่อแถวคอยรับลูกค้าเต็มความสามารถ-
dc.description.abstractalternativeThis research studies the theoretical queueing systems when customers who have been served request for additional services 1 taking restaurant operations as concrete examples. The study compares the efficiency between two policies , namely First-in First-out policy and Priority-to-the-repeating policy , where the efficiency is determined by the average waiting time. The results of the study are as follows. 1. First-in First-out policy is less efficient than Priority-to-the-repeating policy as the mean arrival rate is little lower than the mean service rate. 2. The efficiencies of the First-in First-out policy and the Priority-to-the-repeating policy are not distinguishable as the mean arrival rate is considerably lower than the mean service rate. 3. The efficiencies of the First-in First-out policy and the Priority-to-the-repeating policy are not distinguishable as the mean arrival rate is higher than the mean service rate with limited queue capacities and allow balking.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectทฤษฎีการคอยลำดับen_US
dc.subjectบริการอาหารen_US
dc.subjectร้านอาหารen_US
dc.subjectQueuing theoryen_US
dc.subjectRestaurantsen_US
dc.subjectFood serviceen_US
dc.titleการเปรียบเทียบนโยบายการให้บริการซ้ำสำหรับร้านอาหารด้วยตัวแบบแถวคอยen_US
dc.title.alternativeA comparison on repeated service policies for restaurant operations using queueing modelsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสถิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสถิติ-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSeksan.K@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Acctn - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sophon_ba_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ980.76 kBAdobe PDFView/Open
Sophon_ba_ch1_p.pdfบทที่ 1675.58 kBAdobe PDFView/Open
Sophon_ba_ch2_p.pdfบทที่ 21.26 MBAdobe PDFView/Open
Sophon_ba_ch3_p.pdfบทที่ 3653.99 kBAdobe PDFView/Open
Sophon_ba_ch4_p.pdfบทที่ 42.01 MBAdobe PDFView/Open
Sophon_ba_ch5_p.pdfบทที่ 5776.03 kBAdobe PDFView/Open
Sophon_ba_back_p.pdfรายการอ้างอิงและภาคผนวก1.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.