Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66708
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนเรศร์ จันทน์ขาว-
dc.contributor.authorนภากาญจน์ สุวรรณคช-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-06-30T14:09:05Z-
dc.date.available2020-06-30T14:09:05Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.issn9741741383-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66708-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดประสงค์ในการวัดอัตราการปลดปล่อยเรดอนจากวัสดุภัณฑ์ก่อสร้างบางชนิด โดยใช้ระบบวัดรังสีแอลฟาชนิด ZnS(Ag) โดยนำตัวอย่างวัสดุภัณฑ์ก่อสร้างที่นำมาวัดรังสี ได้แก่ แผ่นหินแกรนิต, แผ่นหินอ่อน, ก้อนอิฐมอญ, ก้อนอิฐบล็อก และแผ่นกระเบื้องปูผนัง ชนิดละ 5 ตัวอย่าง ซึ่งจะทำการวัดรังสีตัวอย่างในภาชนะบรรจุตัวอย่างโดยการดูดอากาศจากภาชนะบรรจุตัวอย่างมาทำการวัดความแรงรังสีในหัววัด ZnS(Ag) จากนั้นคำนวณค่าที่วัดได้ออกมาเป็นค่าอัตราปลดปล่อยเรดอน แล้วจึงนำค่าที่ได้ไปเปรียบเทียบกับค่าอัตราการปลดปล่อยเรดอนที่วัดได้จากเครื่องวัดเรดอน RAD 7 ผลการวิจัยพบว่าอัตราการปลดปล่อยเรดอนที่ได้จากระบบวัดรังสีที่จัดทำขึ้นนี้มีค่าที่สอดคล้องกับค่าอัตราการปลดปล่อยเรดอนที่วัดได้จากเครื่องวัดเรดอน RAD 7 ซึ่งอัตราการปลดปล่อยเรดอนที่วัดได้อยู่ในช่วง 0.32-10.4 mBq/m2-s โดยตัวอย่างที่มีอัตราการปลดปล่อยเรดอนมากที่สุด คือ แผ่นหินแกรนิตและตัวอย่างที่มีอัตราการปลดปล่อยเรดอนน้อยที่สุดคือ แผ่นกระเบื้องปูผนัง แต่เมื่อพิจารณาโดยรวมพบว่า ตัวอย่างที่มีอัตราการปลดปล่อยเรดอนโดยเฉลี่ยมากที่สุดคือก้อนอิฐมอญ นอกจากนี้จากการวัดปริมาณเรเดียมพบว่าความแรงรังสีจำเพาะของเรเดียมของแต่ละตัวอย่างน้อยมาก ซึ่งค่าเหล่านี้ไม่สอดคล้องกับอัตราการปลดปล่อยเรดอนen_US
dc.description.abstractalternativeThe aim of this research is to determine radon-222 emanation rate from some building materials using a ZnS(Ag) detector. The building materials investigated were granite plates, marble plates, bricks, cement blocks and ceramic using 5 samples each type of building materials, which were placed in an air-tight chamber. The air was pumped from the chamber into the detector for measurement of alpha activity. The radon-222 emanation rate was then calculated and compared with that obtained from a RAD7 radon detector. The obtained radon-222 emanation rate was to comparable the rate measured by RAD 7. The radon-222 emanation rates were found to be in the range of 0.32-10.4 mBq/m2-s. The highest and the lowest values were from a granite plate and a ceramic tile respectively. However, the average radon-222 emanation rate from the bricks was found to be the highest among the specimens under this investigation. The specific radium-226 activity of each sample was found to be very low and was not directly proportional to radon-222 emanation rate.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเรดอนen_US
dc.subjectวัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้างen_US
dc.subjectการก่อสร้างen_US
dc.subjectRadonen_US
dc.subjectBuilding materialsen_US
dc.subjectBuildingen_US
dc.titleการวัดอัตราการปลดปล่อยเรดอน-222 จากวัสดุภัณฑ์บางชนิดสำหรับงานก่อสร้างen_US
dc.title.alternativeMeasurement of radon-222 emanation rate from some building materialsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยีen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorNares.C@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Napakan_su_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ884.49 kBAdobe PDFView/Open
Napakan_su_ch1_p.pdfบทที่ 1880.07 kBAdobe PDFView/Open
Napakan_su_ch2_p.pdfบทที่ 21.12 MBAdobe PDFView/Open
Napakan_su_ch3_p.pdfบทที่ 31.13 MBAdobe PDFView/Open
Napakan_su_ch4_p.pdfบทที่ 41.13 MBAdobe PDFView/Open
Napakan_su_ch5_p.pdfบทที่ 5737.76 kBAdobe PDFView/Open
Napakan_su_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก1.52 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.