Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66734
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพาลาภ สิงหเสนี-
dc.contributor.advisorทรงพล ชีวพัฒน์-
dc.contributor.advisorรัตนา สินธุภัค-
dc.contributor.authorวีระชัย เตชะกิตติโรจน์-
dc.date.accessioned2020-07-01T02:47:59Z-
dc.date.available2020-07-01T02:47:59Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9741756828-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66734-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ภ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en_US
dc.description.abstractความเข้าใจในการเปลี่ยนแปลงหน้าที่และโครงรูปของโปรตีนของสัตว์ทดลองได้รับสารต่างๆ ทางเภสัชภัณฑ์มีความสำคัญอย่างยิ่งในการสืบค้นพิษและความผิดปกติที่มีหลักฐานในมนุษย์และสัตว์ Sindhupak และคณะ (2003) รายงานว่าวิธีฟูเรียทรานสฟอร์ม อินฟราเรด (FTIR) สเปคโตรสโคปีมีข้อดีโดยใช้เวลาน้อยและราคาไม่แพง (ไม่ต้องผ่าน ขั้นตอนของการ fixation และ การย้อมสี) การศึกษาการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างโปรตีนนั้น Rice-Evans และคณะ (1991) ได้รายงานว่า FTIR สเปคโตรสโคปี เป็นเทคนิคที่ดีอย่างยิ่งสำหรับการศึกษาการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของโปรตีนโดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงของโปรตีนเกิดจากอิทธิพลโดยการเปลี่ยนแปลงโครงรูป unfolding และ alpha-helical ของ chromatophore ซึ่ง FTIR ถูกนำมาใช้เพื่อทดสอบคุณสมบัติของโครงสร้างและหน้าที่ของโปรตีนโดย FTIR สามารถให้ข้อมูลทั้งหมดและ รายละเอียด ของ functional group ของโปรตีนในการทำหน้าที่ต่างๆ การศึกษาครั้งนี้เป็นการประยุกต์การใช้ FTIR เพื่อศึกษาม้ามของหนูที่ได้รับรางจืดโดยพิจารณาข้อมูลร่วมกับผลทางชีวเคมีและโลหิตวิทยาโดยกลุ่มผู้วิจัยทำการทดสอบพิษ เฉียบพลันและพิษเรื้อรังเมื่อพิจารณาร่วมกับการทดสอบพิษต่อม้ามของหนูที่ได้รับสารสกัดนำของรางจืด พบว่ามีการเคลื่อนของเลขคลื่น (FTIR spectra ) ในบริเวณ amide I ในหนูที่ได้รับรางจืด (8000 m g/kg ) เมื่อเปรียบเทียบกับหนูกลุ่มควบคุม (control rats) และ มีการเพิ่มขึ้นของระดับบิลิรูบิน (bilirubin) ซึ่งเป็นสาระสำคัญที่เกิดจาก heme oxygenase enzyme ทีมความสำคัญ ในการสลาย heme เป็น biliverdin คาร์บอนมอนนอกไซต์ และเหล็กที่ มีวาเลนซี 2 มีฤทธิ์ในการป้องกันและปรับ (adaptive) ต่อผลจากความเครียดออกซิเดชั่น (oxidative stress) รวมทั้ง nitrosative stress (Foresti และ คณะ, 2003) ผู้วิจัยเสนอว่ากลไกการออกฤทธิ์ของรางจืดเกี่ยวข้องกับ ferric - nitrosyl heme oxygenase complex เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงเลขคลื่นประมาณ 5 cn-1 โดยรางจืดลามารถลดการเปลี่ยนแปลงจาก nitrosative stress สังเกตจากการสั่นของ amino acid side chain ด้านในของโปรตีน แนวคิดของกลไกการแก้พิษของรางจืดผ่านทาง heme oxygenase โดยอาจใช้เป็นแนวทางการศึกษาผลของ heme ซึ่งสัมพันธ์กับเซลล์และความเครียดของกล้ามเนื้อในแง่ที่รางจืดอาจใช้เป็นยาแก้พิษสำหรับสารประกอบสารหนูซึ่งกลุ่มผู้วิจัยเคยได้ทดสอบแล้วพบว่า apigenin ซึ่งเป็นสาระสำคัญ ในรางจืดสามารถยับยั้งพิษของสารหนูในการเปลี่ยน การควบคุม (deregulation) ของ stress fiber ได้-
dc.description.abstractalternativeUnderstanding functional and conformational changes of protein after treatment of experimental animal with various pharmaceutical agent has great significance for toxicological investigations of human and veterinary medicine. Sindhuphak et al. (2003)reported that the Fourier Transform Infrared (FTIR) spectroscopy was less time-consuming and inexpensive (due to lack of fixation and staining needed), Rice-Evans et al. (1991) studied protein structural modifications and proposed that FTIR spectroscopy was a well-established technique for study of protein structural modifications which provide new findings which reveal and important information. In this study, we applied FTIR to study spleen of rat exposed to water extract of Thunbergia laurifolia in conjunction with routine biochemical and hematological parameters assays. It was found that FTIR spectra at amide I in spleen of rats exposed water extract of Thunbergia laurifolia significantly shifted as compared to control rats. This finding is in agreement with bilirubin protective effects against a nitrosative stress as earlier proposed by Foresti et al (2003). Since Ferric-nitrosyl heme oxygenase complex possibly reflect in bond vibration detected by FTIR 5 cm-1 , characterized by lower and broader complex. These patterns allow a greater degree of ligand conformational freedom resulted in changes in amide one vibration of amino acid side chain inside the protein (Wang et al., 2003). The proposed of action of Thunbergia laurifolia through heme oxygenase may be adaptive response to dopamine like action of water extract of Thunbergia laurifolia earlier resported by Thonrsaard and Marsden, 2002). The mechanistic understanding of signaling through nitrosative stress in modulation of rat adaptive response should be further investigated to explain widely known antidote effects of Thunbergia laurifolia-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectรางจืด -- การทดสอบความเป็นพิษen_US
dc.subjectฟูเรียร์ทรานสฟอร์มอินฟราเรดสเปกโทรสโกปีen_US
dc.subjectThunbergia -- Toxicity testingen_US
dc.subjectFourier transform infrared spectroscopyen_US
dc.titleผลของสารสกัดจากรางจืดต่อเซลล์ม้ามของหนูขาวโดยวิธีฟูเรียทรานสฟอร์ม อินฟราเรดสเปคโตรสโคปีen_US
dc.title.alternativeEffect of rang jued (thunbergia laurifolia linn.) extract on rat splenocytes by Fourier Transform Infrared spectroscopyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเภสัชศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเภสัชวิทยาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPalarp.S@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Pharm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Veerachai_te_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ914.4 kBAdobe PDFView/Open
Veerachai_te_ch1_p.pdfบทที่ 1740.16 kBAdobe PDFView/Open
Veerachai_te_ch2_p.pdfบทที่ 21.81 MBAdobe PDFView/Open
Veerachai_te_ch3_p.pdfบทที่ 3849.51 kBAdobe PDFView/Open
Veerachai_te_ch4_p.pdfบทที่ 4803.39 kBAdobe PDFView/Open
Veerachai_te_ch5_p.pdfบทที่ 5710.89 kBAdobe PDFView/Open
Veerachai_te_back_p.pdfรายการอ้างอิงและภาคผนวก762.43 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.