Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66808
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ตรีศิลป์ บุญขจร | - |
dc.contributor.author | รุ้งตะวัน อ่วมอินทร์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-07-03T02:14:26Z | - |
dc.date.available | 2020-07-03T02:14:26Z | - |
dc.date.issued | 2548 | - |
dc.identifier.isbn | 9741754558 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66808 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (อ.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 | - |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์ความเปลี่ยนแปลงของสังคมชนบทภาคกลางในนวนิยายและเรื่องสั้นของวัฒน์ วรรลยางกูร จากนวนิยาย 11 เรื่อง เรื่องสั้น 94 เรื่อง จากการศึกษาพบว่าวรรณกรรมของวัฒน์ วรรลยางกูร แบ่งเป็น 2 ช่วง ช่วงแรก พ.ศ. 2513-2524 เสนอภาพความเปลี่ยนแปลงของชนบทในสังคมไทยภาคกลางตามทฤษฎีวรรณกรรมเพื่อชีวิต โดยเสนอว่าสังคมชนบทมีสภาพล่มสลาย ชีวิตของชาวนาชาวไร่และผู้ใช้แรงงานถูกเอารัดเอาเปรียบจากนายทุนและเจ้าหน้าที่รัฐที่ประพฤติมิชอบ และอิทธิพลของวัฒนธรรมใหม่จากสังคมเมือง ชนบทมีสภาพเป็นสังคมที่ถูกกระทำ ผู้เขียนใช้วรรณกรรมชี้นำประชาชนไปสู่สังคมที่ดีกว่าโดยการต่อสู้เรียกร้องความชอบธรรมในสังคมด้วยพลังมวลชน วรรณกรรมช่วงที่ 2 (พ.ศ.2525-2541) เสนอภาพความเปลี่ยนแปลงของชนบทในสังคมไทยภาคกลางที่ได้รับผลกระทบจากวาทกรรมการพัฒนาของรัฐ อันได้แก่ การพัฒนาทางคมนาคม ความเป็นสังคมเมือง ความเป็นสังคมอุตสาหกรรม ระบบเศรษฐกิจทุนนิยม อิทธิพลของสื่อและเทคโนโลยี และการย้ายถิ่นเข้าไปทำงานในเมือง ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงด้านค่านิยม วิถีชีวิตและวัฒนธรรมของสังคมชนบท วัฒน์เสนอทัศนะอย่างชัดเจนว่าการที่รัฐมุ่งพัฒนาความเจริญทางวัตถุเพียงด้านเดียว มิได้เป็นการพัฒนาที่ยั่งยืน เขาเสนอแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงและยั่งยืนเป็นทางออกในการสร้างสังคมชนบทให้เป็นสังคมที่สงบสุขอย่างยั่งยืน | - |
dc.description.abstractalternative | The objective of this thesis is to analyse rural changes in central Thai society in Wat Wanlayangkun’s literary works, comprising 11 novels and 94 short stories. The research reveals that these works can be divided into 2 periods. The works in the 1970 to 1981, present rural changes in central Thai society in the manner of literature of engagement. These changes cause a general upheaval in rural society, reflecting that Thai farmers are exploited by capitalists and corrupt civil servants amidst the influx of new urban culture. In this phase, the author uses literature as a mean to shown that a better society can be attained if the mass join hands in their fight for justice. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject | วัฒน์ วรรลยางกูร -- การวิจารณ์และการตีความ | - |
dc.subject | การเปลี่ยนแปลงทางสังคม | - |
dc.subject | ไทย (ภาคกลาง) -- ภาวะสังคม -- นวนิยาย | - |
dc.subject | Wat Wanlayangkun -- Criticism and interpretation | - |
dc.subject | Thailand, Central -- Social change | - |
dc.subject | Thailand, Central -- Social conditions -- Fiction | - |
dc.title | ความเปลี่ยนแปลงของชนบทในสังคมไทยภาคกลางในวรรณกรรมของวัฒน์ วรรลยางกูร | - |
dc.title.alternative | Rural changes in central Thai society in Wat Wanlayangkun's literary works | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | อักษรศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | วรรณคดีเปรียบเทียบ | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.email.advisor | Trisilpa.B@Chula.ac.th,trisilpachula@yahoo.com | - |
Appears in Collections: | Arts - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Rungtawan_au_front_p.pdf | 845.58 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Rungtawan_au_ch1_p.pdf | 1.31 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rungtawan_au_ch2_p.pdf | 2.02 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rungtawan_au_ch3_p.pdf | 3.07 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rungtawan_au_ch4_p.pdf | 6.81 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rungtawan_au_ch5_p.pdf | 836.05 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Rungtawan_au_back_p.pdf | 869.69 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.