Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67366
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุจิตรา จงสถิตย์วัฒนา-
dc.contributor.authorมารศรี สอทิพย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-08-05T02:21:15Z-
dc.date.available2020-08-05T02:21:15Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743337245-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67366-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาลักษณะเด่นในวรรณกรรมของลาว คําหอมคือ การใช้ลีลาเสียดสีในการสื่อความคิด ผลการศึกษาได้แสดงให้เห็นว่า ลีลาเสียดสีในวรรณกรรมของลาว คําหอมผ่านการใช้ภาษาเริ่มจากการ ใช้คํา กลวิธีที่ลาว คําหอมนํามาใช้คือ การเล่นคําและเล่นความหมายของคํา โดยแฝงความหมายที่ลึกซึ้งในเชิงเสียดสี การเสริมความที่แทรกน้ําเสียงและทัศนคติเชิงเสียดสีของผู้แต่ง นอกจากนี้ลาว คําหอมยังใช้ภาพพจน์ เพื่อสร้างภาพ ตลกขบขัน หรือภาพที่แสดงถึงความโหดร้ายและขมขึ้นในชีวิตของชาวบ้าน ได้อย่างกลมกลืนกับสภาพชีวิตความเป็นอยู่ ของชาวบ้าน และมีความสมจริงเป็นอย่างยิ่ง จึงทําให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์สะเทือนใจกับปัญหาต่างๆ ที่นําเสนอผ่าน ตัวละคร อันเชื่อมโยงไปสู่การตีความสารสําคัญของเรื่องได้อย่างละเอียดและชัดเจน ลีลาเสียดสีในวรรณกรรมของลาว คําหอมผ่านการใช้องค์ประกอบวรรณกรรม เริ่มจาก กลวิธีการ เล่าเรื่องแบบนิทาน ซึ่งเป็นลีลาการเล่าเรื่องที่โดดเด่นและแสดงน้ําเสียงเสียดสีได้อย่างชัดเจน การตั้งชื่อตัวละครและ การตั้งชื่อเรื่องที่แฝงความหมายที่ลึกซึ้ง และการสร้างฉากที่สื่อถึงอารมณ์และบรรยากาศของเรื่องได้อย่างสมจริง นอกจากนั้นผู้แต่งยังได้แสดงน้ําเสียงเสียดสีที่มีต่อคน สถาบันศาสนาและความเชื่อ และความเปลี่ยนแปลงของสังคม ไว้ในวรรณกรรมของตนได้อย่างเด่นชัดและงดงาม ในฐานะ"คําร้องทุกข์ของชาวบ้าน” วรรณกรรมของลาว คําหอมนับว่าประสบความสําเร็จอย่างงดงาม งานวิจัยนี้ช่วยแสดงให้เห็นชัดเจนว่า ความสําเร็จของวรรณกรรมของลาว คําหอมนั้นขึ้นอยู่กับลีลาและกลวิธีการเสียดสี อันประณีตแยบคายen_US
dc.description.abstractalternativeThe thesis aims at studying the characteristics of the style of satire in Lao Khamhom's literary works. The study reveals that the style of satire in Lao Khamhom' s literary works starts from the use of words in from of puns and word-plays. He also uses the technique of amplification to intensify the tone of satire. Besides, he creates a lot of humourous imagery and realistic imagery of hardship and sufferings of the people in his works. These techniques lead to the moving effect of his satire and a very humane understanding of the message. He also employs other literary elements such as the technique of tale-narration, the use of characters' names, the story' s title and the description of setting which all enhance realistic beauty of the works. The narrator in his works clearly expresses a tone of satire on people, the religious institution and the social changes in the country. As a 'protest of the people', Lao Khomhom's works can be considered very effective. The study helps to illustrate how the success of his works is mainly achieved through the technique of satire.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1999.94-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectลาว คำหอม -- แนวการเขียนen_US
dc.subjectคำสิงห์ ศรีนอก, 2473-en_US
dc.subjectเรื่องสั้นไทย -- ประวัติและวิจารณ์en_US
dc.subjectล้อเลียนen_US
dc.subjectการเขียนเรื่องสั้นen_US
dc.subjectวรรณกรรมไทยร่วมสมัยen_US
dc.subjectShort stories, Thai -- History and criticism-
dc.subjectSatire-
dc.subjectShort story-
dc.titleลีลาเสียดสีในวรรณกรรมของลาว คำหอมen_US
dc.title.alternativeThe style of satire in Lao Khamhom's literary worksen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineภาษาไทยen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSuchitra.C@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1999.94-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Marasri_so_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ902.76 kBAdobe PDFView/Open
Marasri_so_ch1_p.pdfบทที่ 1859.77 kBAdobe PDFView/Open
Marasri_so_ch2_p.pdfบทที่ 21.76 MBAdobe PDFView/Open
Marasri_so_ch3_p.pdfบทที่ 34.63 MBAdobe PDFView/Open
Marasri_so_ch4_p.pdfบทที่ 45.13 MBAdobe PDFView/Open
Marasri_so_ch5_p.pdfบทที่ 5712.5 kBAdobe PDFView/Open
Marasri_so_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก833.19 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.